ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า article

หน้า ๓๐

เลม ๑๒๔              ตอนพิเศษ ๕๘ ง                ราชกิจจานุเบกษา                ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๐

 


ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ ๙/๒๕๕๐

เรื่อง มาตรฐานการบัญชี

 

อาศัยอํานาจตามมาตรา ๗ () และมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.. ๒๕๔๗  ที่กําหนดให้สภาวิชาชีพบัญชีมีอํานาจหน้าที่ในการกําหนดและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีเพื่อใชเป็นมาตรฐานในการจัดทําบัญชี ตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี และกฎหมายอื่น ทั้งนี้ มาตรฐานการบัญชีนั้น ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว จึงจะใช้บังคับได

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภโดยความเห็นชอบในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของคณะกรรมการกํากับดูแลการประกอบวิชาชีพในการประชุมครั้งที่ ๖/(/๒๕๕๐) เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๐ จึงออกประกาศ ดังนี้

. ให้ยกเลิกมาตรฐานการบัญชี ตามประกาศ ก.บช. ฉบับที่ ๔๒ (.. ๒๕๔๓) เรื่อง

มาตรฐานการบัญชี รวม ๕ ฉบับ ดังนี้

.๑ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๒๕ เรื่อง งบกระแสเงินสด

.๒ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๓๓ เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม

.๓ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๔ เรื่อง งบการเงินรวมและการบัญชีสําหรับเงินลงทุนย่อย

.๔ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๕ เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม

.๕ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๖ เรื่อง รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในการร่วมค้

. ให้ยกเลิกมาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๙ เรื่อง  สัญญาก่อสร้าง ตามประกาศ ก.บช. ฉบับที่ ๔๘

        (.. ๒๕๔๕) เรื่อง มาตรฐานการบัญชี

. ให้ใช้มาตรฐานการบัญชีตามบัญชีแนบท้ายประกาศนี้แทน

.๑ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๒๕ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง งบกระแสเงินสด

.๒ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๓๓ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม

.๓ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๔ (ปรับปรุ ง ๒๕๕๐) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

หน้า ๓๑

เลม ๑๒๔              ตอนพิเศษ ๕๘ ง                 ราชกิจจานุเบกษา                ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๐

 


.๔ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๕ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม

.๕ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๖ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้

.๖ มาตรฐานการบัญชี  ฉบับที่ ๔๙ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง

 

ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.. ๒๕๕๐

เกษรี ณรงคเดช

นายกสภาวิชาชีพบัญชี

 

 

 

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง

ส่วนได้เสียในการร่วมค้

 

คําแถลงการณ

 

มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานการบั ญชีระหว่างประเทศ ฉบับที่ 31 เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า พ.. 2549 (IAS 31 “Interests in Joint Ventures” (revised 2006))

 

ขอบเขต

1. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใหถือปฏิบัติ กับการบัญชี สําหรับส่วนได้เสียในการร่วมค้าและการรายงานเกี่ยวกับสินทรัพยหนี้สิน รายไดและค่าใช้จ่ายของการร่วมค้าในงบการเงินของผู้ร่วมค้าและงบการเงินของผู้ลงทุนในการร่วมค้า โดยไม่คํานึงถึงโครงสร้างหรือรูปแบบการดําเนินงานของการร่วมค้านั้น อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ไม่ให้ ถือปฏิบัติกับส่วนได้เสียของผู้ร่วมค้าในกิจการที่ควบคุมร่วมกันซึ่งถือโดยข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้

1.1 กิจการร่วมลงทุน (Venture Capital Organisations)

1.2 กองทุนรวม หน่วยลงทุน และกิจการที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน รวมถึงกองทุนประกันภัยซึ่งมี

ลักษณะของเงินลงทุน (Investment-Linked Insurance Funds) ซึ่งผู้ลงทุนจัดประเภทเริ่มแรกของเงินลงทุนตามข้ 1.1 และ 1.2 ข้างต้นเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้าและบันทึกบัญชี ผู้ลงทุนต้องรับรู้รายการเงินลงทุนดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมตามที่ กําหนดในมาตรฐานการบัญชี เรื่อง การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช ) และรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมเป็นกําไรหรือขาดทุนทันทีในงวดบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลง

2. ผู้ร่วมค้าซึ่งมีส่วนได้เสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกันไดรับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามย่อหน้าที่ 6

(วิธีรวมตามสัดส่วน) และย่อหน้าที่ 8 (วิธีส่วนได้เสีย) เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้

2.1 ส่วนได้เสียดังกล่าวได้มาและถือไวเพื่อขายตามมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

ที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก (เมื่อมีการประกาศใช)

2.2 ข้อยกเว้นในย่อหน้าที่ 5 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงิ น

รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ อนุญาตใหบริษัทใหญซึ่งมีส่วนไดเสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกันไม่ต้องนําเสนองบการเงินรวม

2.3 มีลักษณะตามข้อกําหนดทุกข้อต่อไปนี้

2.3.1 ผู้ร่วมค้ามีฐานะเป็นบริษัทย่อยซึ่งถูกกิจการอื่นควบคุมอยูทั้งหมด หรือเป็นบริษัทย่อยซึ่ง

ถูกกิจการอื่นควบคุมบางส่วน โดยที่ผู้ถือหุ้นกิจการอื่นนั้นรวมทั้งผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิ

ออกเสียงได้รับทราบและไม่คัดค้านในการที่ผู้ร่วมค้าไม่ใช้วิธีรวมตามสัดส่วนหรือวิธีส่วนได้เสีย

2.3.2 ตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของผู้ร่วมค้าไม่มีการซื้อขายในตลาดสาธารณะ (ไม่ว่าจะเป็น

ตลาดหลักทรัพยในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย

รวมทั้งตลาดในท้องถิ่นและในภูมิภาค)

2.3.3 ผู้ร่วมค้าไม่ได้นําส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนําส่งงบการเงินของกิจการใหแก

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยหรือหน่วยงานกํากับดูแลอื่นเพื่อวัตถุประสงค

ในการเสนอออกขายหลักทรัพยใดๆ ในตลาดสาธารณะ

2.3.4. บริษัทใหญ่ในลําดับสูงสุดหรือบริษัทใหญในระหว่างกลางของผู้ร่วมค้านั้นไดจัดทํา

งบการเงินรวมเผยแพร่เพื่อประโยชนต่อสาธารณชนซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่

รับรองทั่วไปแล้

 

คํานิยาม

3. คําศัพทที่ใชในมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มีความหมายโดยเฉพาะ ดังนี้

การควบคุม หมายถึง อํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของ

กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจเพื่อใหได้รับประโยชนจากกิจกรรมนั้น

 

วิธีส่วนได้เสีย หมายถึง วิธีการบัญชีสําหรับผู้ร่วมค้าในกิจการที่ควบคุมร่วมกันโดยบันทึก

ส่วนได้เสียในการร่วมค้าเริ่มแรกด้วยราคาทุน และปรับปรุงด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายหลัง

ในสินทรัพย์สุทธิของกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามสัดส่วนของผู้ร่วมค้า กําไรหรือขาดทุนของ

ผู้ร่วมค้า รวมส่วนแบ่งในผลการดําเนินงานของกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามสัดส่วนของผู้ร่วมค้

 

ผู้ลงทุนในการร่วมค้า หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่เข้าร่วมในการร่วมค้าและไม่มีอํานาจควบคุม

ร่วมในการร่วมค้านั้น

 

การควบคุมร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวใน

สัญญา และการควบคุมร่วมดํารงอยู่ต่อเมื่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธทางการเงินและการดําเนิ นงาน

ในกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจต้องไดรับความเห็นชอบเป็นเอกฉันทจากผู้ร่วมค้าซึ่งมีส่วนร่วมในการควบคุม

 

การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจของบุคคลหรือกิจการตั้งแตสอง

รายขึ้นไปโดยให้มีการควบคุมร่วมกันตามที่ตกลงไว้ในสัญญา

 

วิธีรวมตามสัดส่วน หมายถึง วิธีการบัญชีของผู้ร่วมค้าโดยนําสินทรัพย์หนี้สิน รายไดและ

ค่าใช้จ่ายในการร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ร่วมค้ามารวมกับรายการที่เหมือนกันตามเกณฑแต่ละบรรทัดหรือนําเสนอโดยแสดงรายการดังกล่าวเป็นแต่ละบรรทัดแยกต่างหากจากรายการ

ชนิดเดียวกันในงบการเงินของผู้ร่วมค้

 

งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายถึง งบการเงินซึ่งนําเสนอโดยบริษัทใหญ่หรือโดยผู้ลงทุนในบริษัทร่วมหรือโดยผู้ร่วมค้าในกิ จการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งมีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนตามเกณฑของส่วนไดเสียในส่วนของเจ้าของโดยตรงไม่ใช่ตามเกณฑ์ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นและสินทรัพย์สุทธิของกิจการที่ถูกลงทุน

 

อิทธิพลอย่าง มีนัยสําคัญ  หมายถึง อํานาจในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจแตไม่ถึงระดับที่จะควบคุมหรือควบคุมร่วมในนโยบายดังกล่าว

 

ผู้ร่วมค้า หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่เข้าร่วมในการร่วมค้าและมีอํานาจควบคุมร่วมในการร่วมค้านั้น

 

การดําเนินงานที่ควบคุมร่วมกัน

4. ผู้ร่วมค้าต้องรับรู้ส่วนได้เสียในการดําเนินงานที่ควบคุมร่วมกันในงบการเงินของผู้ร่วมค้าทุกข้อต่อไปนี้

4.1 สินทรัพย์ที่ผู้ร่วมค้าควบคุมอยูและหนี้สินที่ผู้ร่วมค้านั้นเป็นผู้ก่อขึ้น

4.2 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นกับผู้ร่วมค้าและส่วนแบ่งของรายไดจากการขายสิ นค้าหรือการให้บริการที่

ผู้ร่วมค้าได้รับ

 

สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกัน

5. ผู้ร่วมค้าต้องรับรู้ส่วนได้เสียในสินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันในงบการเงินของผู้ร่วมค้าทุกข้อดังต่อไปนี้

5.1 ส่วนแบ่งในสินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันโดยแยกประเภทตามลักษณะของสินทรัพยนั้น

5.2 หนี้สินของผู้ร่วมค้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากการร่วมค้

5.3 ส่วนแบ่งในหนี้สินที่เกิดขึ้นร่วมกันจากการร่วมค้

5.4 รายได้จากการขายหรือการใช้ผลผลิตที่เกิดขึ้นร่วมกัน รวมทั้งส่วนแบ่งค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นร่วมกัน

จากการร่วมค้

5.5 ค่าใช้จ่ายของผู้ร่วมค้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากการร่วมค้

 

งบการเงินของผู้ร่วมค้

วิธีรวมตามสัดส่วน

6. ผู้ร่วมค้าต้องใช้วิธีรวมตามสัดส่วนหรือใช้แนววิธีปฏิบัติที่เป็นทางเลือกตามย่อหน้าที่ 8 เพื่อรับรู้ส่วนได้เสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน กรณีที่ใชวิธีรวมตามสัดส่วนให้ใชรูปแบบการรายงานแบบใดแบบหนึ่งในสองแบบ

7. ผู้ร่วมค้าต้องเลิกใช้วิธีรวมตามสัดส่วนนับตั้งแต่วันที่ผู้ร่วมค้าหมดอํานาจควบคุมร่วมในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน

 

วิธีส่วนได้เสีย

8. ผู้ร่วมค้าอาจเลือกใช้วิธีส่วนได้เสียสําหรับกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งเป็นทางเลือกจากวิธีรวมตาม

สัดส่วนตามที่กล่าวในย่อหน้าที่ 6

9. ผู้ร่วมค้าต้องเลิกใช้วิธีส่วนได้เสียนับตั้งแต่วันที่ผู้ร่วมค้าหมดอํานาจควบคุมร่วมหรือไม่มีอิทธิพล

อย่างมีนัยสําคัญในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน

 

ข้อยกเว้นการไม่ใช้วิธีรวมตามสัดส่วนและวิธีส่วนได้เสีย

10. ส่วนได้เสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกันซึ่งจัดประเภทเป็นเงินลงทุนถือไวเพื่อขาย ตามมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สินทรัพยไม่หมุนเวียนถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก (เมื่อมีการประกาศใช้) ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีดังกล่าว

11. นับตั้งแต่วันที่กิจการที่ ควบคุมร่วมกันเปลี่ยนสภาพเป็นบริษัทย่อยของผู้ร่วมค้าใหบันทึกบัญชี ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการนับตั้งแต่วันที่กิจการที่ควบคุมร่วมกันเปลี่ยนสภาพเป็นบริษัทร่วมของผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าต้องบันทึกบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม

 

งบการเงินเฉพาะกิจการของผู้ร่วมค้

12. ส่วนได้เสียในกิจการที่ ควบคุมร่วมกันในงบการเงินเฉพาะกิจการของผู้ร่วมค้าให้ใชวิธีตามที่ระบุ ในย่อหน้าที่ 16-19 ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

 

รายการค้าระหว่างผู้ร่วมค้ากับการร่วมค้

13. ผู้ร่วมค้าต้องรับรู้ส่วนของกําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการโอนหรือขายสินทรัพยให้แกการร่วมค้าตามเนื้อหาของรายการค้าที่เกิดขึ้น หากผู้ร่วมค้าโอนสินทรัพยพร้อมกับความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยสําคัญของความเป็นเจ้าของให้แกการร่วมค้าและหากการร่วมค้ายังคงครอบครองสินทรัพยนั้นอยูผู้ร่วมค้าต้องรับรู้กําไรหรือขาดทุนในงบการเงินของผู้ร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นส่วนได้เสียของผู้ร่วมค้อื่น อย่างไรก็ตามผู้ร่วมค้าต้องรับรู้ผลขาดทุนทั้งจํานวนเมื่อมีหลักฐานสนับสนุนว่าสินทรัพยที่โอนหรือ ขายให้แก่กิจการร่วมค้ามีมูลค่าสุทธิที่จะได้รับลดลงในกรณีของสินทรัพย์หมุนเวียนหรือมีผลขาดทุนจากการด้อยค่าเกิดขึ้น

14. เมื่อผู้ร่วมค้าซื้อสินทรัพยจากการร่วมค้า ผู้ร่วมค้าต้องไม่รับรู้ส่วนแบ่งของตนในกําไรที่การร่วมค้าได้รับจากการขายสินทรัพยนั้นจนกว่าผู้ร่วมค้าได้ขายสินทรัพยดังกล่าวให้กับบุคคลที่สามที่มีความเป็นอิสระจากผู้ร่วมค้าและการร่วมค้าผู้ร่วมค้าต้องรับรู้ส่วนแบ่งของตนในขาดทุนที่เกิดขึ้นกับการร่วมค้าจากการขายสินทรัพย์นั้นให้กับตนในลักษณะเดียวกับการรับรู้รายการกําไร เว้นแตในกรณี ที่สินทรัพย์หมุนเวียนที่ซื้อมามีมูลค่าสุทธิที่จะไดรับลดลงหรือมีการด้อยค่าเกิดขึ้นใหผู้ร่วมค้าต้องรับรูผลขาดทุนเฉพาะที่เป็นส่วนแบ่งของตนทันที

 

การแสดงส่วนได้เสียในการร่วมค้าในงบการเงินของผู้ลงทุน

15. ผู้ลงทุนซึ่งไม่มี อํานาจควบคุมร่วมในการร่วมค้า ต้องบันทึกเงินลงทุนตามข้อกําหนดที่ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชี เรื่อง การรับรูและการวัดมูลค่าตราสารการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) หรือหากผู้ลงทุนมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญในการร่วมค้า ผู้ลงทุนต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดที่ระบุ

ไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การบัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วม

 

ผู้ดําเนินการของการร่วมค้

16. ผู้ดําเนินการหรือผู้จัดการของการร่วมค้าต้องบันทึกค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตามข้อกําหนดที่ ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง รายได

 

การเปิดเผยข้อมูล

17. ผู้ร่วมค้าต้องเปิดเผยจํานวนรวมของรายการหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นต่อไปนี้แยกต่างหากจากรายการหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นอื่น ยกเว้นกรณีที่ผลขาดทุนจากรายการดังกล่าวไม่น่าที่จะเกิดขึ้น

17.1 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นซึ่งผู้รววมค้าเป็นผู้ก่อให้เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการมีส่วนได้เสียในกิจการ

ร่วมค้าและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเกิดขึ้นร่วมกับผู้ร่วมค้าอื่น

17.2 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของการร่วมค้า เฉพาะส่วนที่ผู้ร่วมค้าอาจต้องรับผิดชอบ

17.3 รายการหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ผู้ร่วมค้าอาจต้องรับภาระหนี้สินของผู้ร่วมค้าอื่น

ในการร่วมค

18. ผู้ร่วมค้าต้องเปิดเผยจํานวนรวมของภาระผูกพันของตนที่เกิดจากการมีส่วนได้เสียในการร่วมค้าทุกข้อดังต่อไปนี้แยกต่างหากจากภาระผูกพันอื่น

18.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับการลงทุนของผู้ร่วมค้าที่เกิดจากการมีส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าและภาระผูกพันด้านเงินทุนที่เกิดขึ้นร่วมกับผู้ร่วมค้าอื่น

18.2 ส่วนแบ่งในภาระผูกพันด้านเงินทุนในการร่วมค้

19. ผู้ร่วมค้าต้องเปิดเผยรายการและคําอธิบายเกี่ยวกับส่วนได้เสียในการร่วมค้าที่มีนัยสําคัญและ

สัดส่วนของส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของที่มีในกิจการที่ควบคุมร่วมกันผู้ร่วมค้าที่รับรู้ส่วนได้เสียของตนในกิจการที่ควบคุมร่วมกันโดยนํารายการต่าง ๆ ของกิจการที่ควบคุมร่วมกันมารวมกับรายการที่คล้ายคลึงกันในงบการเงินของตนตามเกณฑ์รวมแต่ละบรรทัดสําหรับวิธีรวมตามสัดส่วน หรือวิธีส่วนได้เสียใหเปิดเผยจํานวนรวมของส่วนได้เสียแต่ละรายการที่ตนมีในการร่วมค้าโดยแยกเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนหนี้สินหมุนเวียนหนี้สินระยะยาวรายไดและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการร่วมค้

20. ผู้ร่วมค้าต้องเปิดเผยวิธีการที่ใช้ในการรับรู้ส่วนได้เสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน

 

วันถือปฏิบัติ

21. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วั นที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป อย่างไรก็ตามกิจการสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก่อนวันถือปฏิบัติ และหากกิจการปฏิบั ติ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก่อนวันถือปฏิบัติ กิจการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว

 




มาตรฐานการบัญชี

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 49 เรื่องการบัญชีสำหรับงานก่อสร้างตามสัญญา article
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ article
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 การรับรู้รายได้ article
ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับ รายได้ตาม ภ.พ. 30 article
เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล article
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 53 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 เรื่อง กำไรต่อหุ้น
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนใน ตราสารหนี้ และ ตราสารทุน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 การบัญชีเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน (วิธีการบันทึกบัญชี)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่อง สินค้าคงเหลือ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม
แบบตรวจสอบความครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินประจำปี
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การบัญชีสำหรับ สัญญาเช่าระยะยาว
มาตรฐานการบั ญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเช่า
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินค้าคงเหลือ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 51 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ ๒๑ / ๒๕๕๐ เรื่อง การยกเว้นการบังคับใช้มาตรฐานการบัญชี
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ ๕๔ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ ๓๖ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 52 (ปรับปรุง 2549) เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 53 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง ๒๕๕๒)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ ๒๔ (ปรับปรุง ๒๕๕๐) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ ๔๐ เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
Summaries of International Financial Reporting Standards and International Accounting Standards
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและงบการเงิน ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีและผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ ๒๗ (ปรับปรุง ๒๕๔๙) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถาบันการเงินที่คล้ายคลึงกัน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
ประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ ๑๗/๒๕๕๓ เรื่อง มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง ๒๕๕๒)
ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ ๓๔/๒๕๕๓ เรื่อง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ ๓ (ปรับปรุง ๒๕๕๒) เรื่อง การรวมธุรกิจ
มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
สรุปสาระสำคัญของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs)



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี