ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี แก้เกมการทวงหนี้ บัตรเครดิต - บัตรเงินผ่อน
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ใช้ 1 มกราคม 2554 - 31 ธันวาคม 2566)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม)
bulletคำชี้แจงประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


แก้เกมการทวงหนี้ บัตรเครดิต - บัตรเงินผ่อน

ในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศที่เป็นชนชั้นแรงงาน เช่น สาวโรงงาน หนุ่มโรงงาน ลูกจ้างบริษัทเอกชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ ข้าราชการ ล้วนตกเป็นทาส หนี้บัตรเครดิต หรือ บัตรเงินผ่อน กันทั่วหน้าและไม่มีปัญญาที่จะหาเงินผ่อนชำระค่างวดตามที่เจ้าของบัตรเครดิตหรือบัตรเงินผ่อน กำหนดให้ชำระขั้นต่ำ ในอัตราร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 10 และคิดอัตราดอกเบี้ยผิดนัดในอัตราร้อยละ 18 ต่อปี ไม่รวมค่าปรับ ค่าทวงหนี้ ค่าทนายความ ค่าฤชาธรรมเนียม และค่าเสียหายอื่นๆ อีกมากมาย สุดแล้วแต่เจ้าของบัตรจะขูดรีด ทำให้ผู้ถือบัตรเครดิตหรือบัตรเงินผ่อน ต้องทนทุกข์ทรมาน ทั้งกายและใจ ซึ่งผมจะขอนำ 20 คำถามยอดฮิตบัตรเครดิต ที่สอบถามเข้ามามากที่สุดดังต่อไปนี้

 

  1. ดอกเบี้ยและเบี้ยปรับ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกหรือไม่

 

ธนาคารมีสิทธิคิดดอกเบี้ยเกี่ยวกับหนี้บัตรเครดิตได้ไม่เกินร้อยละ 18 ตามที่

ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด และมีข่าวว่าจะคิดดอกเบี้ยผิดนัดได้เพิ่มขึ้นอีก 2 % ได้ไม่เกินร้อยละ 20 ต่อปี ซึ่งการคิดดอกเบี้ยดังกล่าว รวมเบี้ยปรับและค่าใช้จ่ายอื่นๆ แล้ว

  1. ค่าทวงหนี้มหาโหดเรียกได้หรือไม่

 

ค่าทวงหนี้ไม่มีกฎหมายใดให้เรียกได้ แต่เจ้าหนี้สถาบันการเงินและเจ้าหนี้บัตร

เงินผ่อน มักจะถือโอกาสซ้ำเติมประชาชน ขูดรีดเพิ่มเติมจากลูกหนี้

 

  1. การข่มขู่ทำได้หรือไม่

การทวงหนี้ หมายถึง การเจรจาประนีประนอมยอมความหรือการเร่งรัดหนี้สิน

เพื่อให้ลูกหนี้ชำระหนี้ โดยวิธีที่สุภาพและไม่เป็นการละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น การที่ลูกหนี้ใช้วิธีการข่มขู่ ไม่สามารถกระทำได้ตามกฎหมาย

          และการกระทำดังกล่าวมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 (ความผิดต่อเสรีภาพ) ซึ่งมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี และ มาตรา 337 จำคุกไม่เกิน 5 ปี (กรรโชกทรัพย์ รวมทั้งมีความผิดฐานหมิ่นประมาท) ตาม มาตรา 326 จำคุกไม่เกิน 1 ปี

 

  1. การรังควาญที่ทำงาน ที่บ้าน บ้านญาติ ทำได้หรือไม่

ไม่สามารถทำได้ เพราะถือเป็นการกระทำผิดกฎหมาย ตามประมวลกกหมาย

อาญาหลายมาตรา ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เมื่อผู้ใดถูกเจ้าหนี้หรือบริษัททวงหนี้กระทำดังกล่าว สามารถดำเนินคดีตามกฎหมายได้ทั้งทางแพ่งและทางอาญา

 

  1. การพูดจาเหยียดหยาม หยาบคาย ทำได้หรือไม่

ไม่สามารถทำได้ เพราะมีความผิดฐานหมิ่นประมาทและดูหมิ่นซึ่งหน้า มี

ความผิดทางอาญา

 

  1. วิธีการแก้เผ็ดพวกทวงหนี้ถ่อย

บันทึกภาพและเสียง พร้อมทั้งยั่วยุ ให้นักทวงหนี้ด่าหรือประจาน โดยใช้ถ้อยคำ

หยาบคายและผิดกฎหมาย หลังจากนั้นให้นำเทปบันทึกเสียงหรือวีดีโอ ไปแจ้งความดำเนินคดีต่อพนักงานสอบสวนและ สคบ. เป็นต้น

 

  1. ไม่มีเงินจ่าย ไม่มีรายได้ ไม่มีทรัพย์สิน ควรทำอย่างไร

ควรเจรจาและลดยอดหนี้ โดยขอลดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยผิดนัดให้เหลือเพียง

ร้อยละ 7.5 หรือดอกเบี้ยขั้นต่ำ หรือไม่คิดดอกเบี้ยเลย มิฉะนั้นจะถูกยึดทรัพย์

 

  1. มีปัญญาผ่อน แต่ผ่อนได้น้อยกว่าที่เจ้าหนี้กำหนด จะแก้ไขอย่างไร

ก่อนอื่นต้องดูว่ามีทรัพย์สินเงินทอง มีรายได้ประจำที่อยู่ในระบบประกันสังคม

หรือไม่ ถ้ามีควรเจรจาผ่อนชำระ ถ้าผ่อนชำระไม่ได้ รอให้เจ้าหนี้ฟ้องและหาทนายความเป็นตัวแทนเจรจาในชั้นศาล จะได้ประโยชน์มากกว่า แต่ถ้าไม่มีทรัพย์สินเงินทอง รวมทั้งเป็นลูกจ้างนอกระบบประกันสังคม แบบนี้ไม่ต้องห่วงเพราะเจ้าหนี้บังคับอะไรคุณไม่ได้เลย จะเจรจาหรือไม่ขึ้นอยู่กับคุณ

 

  1. ค่าทวงหนี้ เจ้าหนี้คิดเป็นรายครั้งได้หรือไม่

ไม่ได้ เป็นการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคเกินควร เราสามารถโต้แย้งได้

 

  1. หนังสือทวงหนี้ที่มีความรุนแรง ผิดกฎหมายหรือไม่

ผิดทั้งกฎหมายและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ไม่สามารถกระทำได้

 

          ขอนำข้อความข่มขู่ที่สำนักงานทนายความหรือสำนักงานทวงหนี้ ที่เป็นทาสรับใช้เจ้าหนี้บัตรเครดิตหรือบัตรเงินผ่อนนิยมใช้ ซึ่งข้อความข้างล่างนี้ไม่มีผลบังคับตามกฎหมายและถ้าได้รับจดหมายข่มขู่จากบริษัททวงหนี้ซึ่งมีข้อความข้างล่างนี้ ขอแนะนำให้ดำเนินคดีหรือชักดาบไปเลย

          ข้อความที่บริษัททวงหนี้มหาโหดนิยมใช้

-         ส่งเข้าบัญชีลูกหนี้เสีย ตรวจสอบที่ทำงาน ตรวจสอบภูมิลำเนา

-         ตรวจสอบภูมิลำเนาเพื่อเตรียมเรื่องดำเนินคดีตามกฎหมาย

-         อนุมัติดำเนินคดี 2 วันสุดท้ายก่อนดำเนินการ

-         หมายแจ้งผิดนัด และเตือนครั้งสุดท้าย

-         เตือนครั้งสุดท้ายก่อนฟ้องศาล 3 วัน

-         หากมีการดำเนินคดี สำนักงานสามารถบังคับคดี นำทรัพย์สินของท่านออกขายทอดตลาดได้

วิธีการใช้โทรศัพท์โทรมาข่มขู่จะมีวิธีการดังนี้

-         โทรศัพท์เข้ามือถือทุกวัน วันละไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง แล้วก็พูดว่า ต้องเอาเงินเข้าวันนี้นะ

-    แจ้งว่าโดนอายัดเงินเดือน ฟ้องอายัดเงินเดือน ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นคุณต้องเป็นคนออก เช่นค่าทนายความและอื่นๆ คุณต้องเสียเงินเยอะนะ

-         แจ้งว่าจะมาซื้อทรัพย์สินที่บ้าน

-         แจ้งว่าจะส่งจดหมายมาให้หัวหน้างาน

-         โทรมาด่าใช้คำหยาบคาย เช่น อีหน้าด้าน รู้จักใช้แล้วไม่รู้จักจ่าย

-         แจ้งว่าถ้าไม่มีเงินจ่าย ก็ให้ไปหาเงินกู้มาจ่ายสิ

-         แจ้งว่า บริษัทให้คุณเอาเงินไปได้ ก็เอาคืนมาได้ จะทำทุกทางที่เอาเงินกลับคืนมา

 

  1. ถ้าคนทวงหนี้เป็นทนายความ จะร้องเรียนสภาทนายความเพื่อเอาผิดได้หรือไม่

ถ้าคนทวงหนี้เป็นทนายความ และใช้วิธีการข่มขู่พูดจาหยาบคาย ถือเป็นการ

กระทำที่ผิดมรรยาททนายความ อาจถูกพักใบอนุญาตได้

 

  1. ตำรวจมีส่วนช่วยลูกหนี้อย่างไร

มีส่วนช่วยแต่ส่วนใหญ่มักไม่ช่วย มักจะช่วยคนที่มีเงินมากกว่า ถ้าตำรวจจะช่วย

จริงๆ ผมว่าช่วยได้มาก ยกตัวอย่าง เช่น มีคนมาทวงหนี้ลูกหนี้ และพูดจาหยาบคาย ด่าทอข่มขู่ ประจานที่ทำงาน ซึ่งมีความผิดทางอาญาเวลาที่ลูกหนี้ไปแจ้งความ ตำรวจสามารถโทรคุยกับคนทวงหนี้และห้ามปรามหรือแจ้งข้อกล่าวหา โดยทั่วไปคนทวงหนี้มักจะกลัวตำรวจ แต่ตำรวจส่วนใหญ่มักไม่ทำ บอกว่าไม่ใช่หน้าที่

 

  1. สคบ.มีส่วนช่วยลูกหนี้อย่างไร

มีมากเลย แต่มักไม่ค่อยได้เรื่อง ช่วยอะไรมากไม่ได้ ไม่มีมาตรฐานที่ช่วยเหลือที่ชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น ลูกหนี้บางรายไปร้องเรียนว่า ถูกรังควาญหรือทวงหนี้ โดยวิธีการข่มขู่ บางครั้งก็รับดำเนินการ บางครั้งก็ปฏิเสธไม่ให้การช่วยเหลือ

 

  1. ธนาคารแห่งประเทศไทย ช่วยลูกหนี้ได้อย่างไร

มีส่วนมากที่สุด เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ดูแลกำกับสถาบันการเงินโดยตรง แต่

มักไม่ดำเนินการอะไร ทั้งที่เป็นหน้าที่ของตัวเอง ลอยตัวอยู่เหนือปัญหา อยากให้ผู้ว่าธนาคารแห่งประเทศไทยกระโดดลงมาเพื่อแก้ปัญหาให้กับลุกหนี้บัตรเครดิตหรือบัตรเงินผ่อน

 

  1. ศาลจะช่วยไกล่เกลี่ยอย่างไรเมื่อถูกฟ้อง

ช่วยได้มากเลย และทุกวันนี้ศาลต่างๆ เช่น ศาลแขวงมีส่วนช่วยในการไกล่เกลี่ยคดีบัตรเครดิตและบัตรเงินผ่อน โดยลดอัตราดอกเบี้ยจากร้อยละ 18,20 เหลือเพียงร้อยละ 7.5 ต่อปี

 

  1. ถ้าไปทำยอมความในชั้นศาล จะต้องปฎิบัติตามหรือไม่ ถ้าไม่ปฏิบัติตามจะติดคุกหรือไม่

ถ้าไปทำสัญญายอมความในชั้นศาล โดยหลักกฎหมายต้องปฎิบัติตาม ถ้าไม่

ปฎิบัติตามจะถูกยึดหรืออายัดทรัพย์สิน หรือ เงินเดือน ถ้าลูกหนี้มีทรัพย์สินก็ควรต้องกลัว

 

  1. ถ้าถูกยึดทรัพย์ อายัดทรัพย์ อายัดเงินเดือน อายัดบัญชี จากเจ้าหนี้จะแก้ปัญหาอย่างไร

-    ถ้าถูกยึดทรัพย์หรืออายัดทรัพย์ ทางแก้ คือ เจรจากับเจ้าหนี้ ถ้าเจรจาไม่ได้ เจ้าหนี้จะนำทรัพย์สินออกขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล

-    ถ้าถูกอายัดเงินเดือน ทางแก้ คือ หาหลักฐานเกี่ยวกับรายจ่ายประจำไปแสดงต่อศาลหรือเจ้าพนักงานบังคับคดี เพื่อให้ลดยอดเงินการอายัด จากร้อยละ 30 ให้ลดลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับหลักฐานที่มาแสดงต่อศาล เอกสารที่ต้องเตรียมในการขอลดยอดเงินการอายัดเงินเดือน คือ สลิปเงินเดือน รายละเอียดค่าใช้จ่ายต่างๆ ในกรณีถ้ามีบุตรให้ใช้ใบเกิดบุตรแนบด้วย

 

  1. เป็นหนี้บัตรเครดิต จะถูกให้ออกจากราชการหรืออกจากงานหรือไม่

การเป็นหนี้เป็นเรื่องส่วนตัว ไม่มีผลต่อหน้าที่การงาน ยกเว้นเจ้าหนี้จะไปสร้าง

ความวุ่นวายในหน่วยงานราชการ อาจจะทำให้เจ้านายไม่พอใจ ควรจะไปแจ้งให้เจ้านายทราบถึงปัญหาของตนเองเพื่อหาทางป้องกัน มิให้ถูกไล่ออก

 

  1. เป็นหนี้ไม่ใช้ ต้องถูกขึ้นบัญชีดำหรือไม่

การเป็นหนี้แล้วไม่มีปัญญาใช้ ถ้าต้องถูกขึ้นบัญชีดำในฐานะลูกหนี้ชั้นเลวแล้ว

 ผมว่าลูกหนี้น่าจะยอมรับได้ อย่าให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ให้มากนัก เพราะวันข้างหน้าควรจะคำนึงถึงเรื่องความอยู่รอดมากกว่าหน้าตาหรือ เครดิต

 

  1. มีปัญหาบัตรเครดิตต้องใช้ทนายความหรือไม่

จะใช้ทนายความก็ได้ ถ้าไม่มีปัญญาจ้าง จะไม่ใช้ทนายความก็ได้ แต่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการเจรจาหนี้ในชั้นศาล

 

 

 

ที่มาของข้อมูล : หนังสือทนายคลายทุกข์ เล่ม 1




ความรู้เกี่ยวกับกฏหมาย

ความผิดอาญา ที่ยอมความได้ article
ขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่ง article
การร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก article
คำแนะนำผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา article
การเลิกจ้างที่ไม่ต้องจ่ายเงินชดเชย article
ถอนคืนการให้เพราะเหตุเนรคุณ article
แพ้คดีมา 10 ปีแล้วเจ้าหนี้ยังตามยึดทรัพย์ได้ article
นิติกรรมสัญญาในชีวิตประจำวัน article
หนี้ขาดอายุความก็สามารถฟ้องร้องได้ article
รู้ก่อนจดทะเบียนสมรส ไม่ปวดหัวในวันไม่สมรัก
สิทธิของผู้ถือหุ้น ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์
รถหายในห้างใครรับผิดชอบ
อุบัติเหตุทางจราจร ต้องรับผิดอย่างไรบ้าง
มรดก
การหย่าร้าง เหตุหย่า
วิธีการและขั้นตอน การซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาด
ขับรถ 'ชนคนตาย' แบบไหนถึง 'รอดคุก'
ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินคดีแพ่ง
ระวังการประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด อาจขัดต่อกฎหมาย
สรุปสาระสำคัญการแก้ไขป.พ.พ.ว่าด้วยหุ้นส่วนบริษัท มีผลบังคับใช้ 1 กรกฎาคม 2551
สรุปสาระสำคัญการแก้ไขกฎหมายหุ้นส่วนบริษัท เริ่มใช้ 1 กรกฎาคม 2551
การยื่นคำร้องขอให้ศาลตั้ง ผู้จัดการมรดก ของหน่วยงานคุ้มครองสิทธิ
การออกใบหุ้นและการโอนหุ้น
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งคำบอกกล่าวเรียกนัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด
พระราชบัญญัติ กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ
ยึดเงินเดือนเพื่อชำระหนี้
สัญญาเปล่ากับลายเซ็นต์
ทำไม่ได้...อย่าสัญญา
การเลิกบริษัท เอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียนเลิกบริษัท
5 เรื่องสำคัญ ประชุมใหญ่ประจำปีที่ห้ามพลาด สำหรับนิติบุคคลอาคารชุด
ถูกเลิกจ้างต้องได้ เงินชดเชย จากนายจ้างเท่าไร



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี