ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี ความแตกต่างระหว่าง บัญชีการเงิน กับ บัญชีบริหาร ความแตกต่างระหว่างบัญชีบริหาร กับ บัญชีต้นทุน
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ใช้ 1 มกราคม 2554 - 31 ธันวาคม 2566)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม)
bulletคำชี้แจงประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


ความแตกต่างระหว่าง บัญชีการเงิน กับ บัญชีบริหาร ความแตกต่างระหว่างบัญชีบริหาร กับ บัญชีต้นทุน

การบัญชีการเงินและการบัญชีการบริหาร

                การบัญชีการเงิน คือ การบัญชีที่เกี่ยวกับการจัดเก็บรวบรวม จำแนก และรายงานข้อมูลทางการเงินของกิจการที่เกิดขึ้นในอดีตให้กับบุคคลภายนอกที่ต้องการข้อมูลทางการเงิน

                การบัญชีการบริหาร จะมีหลักการเกี่ยวกับหารให้ข้อมูลทางการเงินแก่ผู้บริหารภาายในกิจการใช้ในการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในการดำเนินกิจการต่าง ๆ ของกิจการ

ความแตกต่างระหว่างการบัญชีการเงินและการบัญชีการบริหาร

     บัญชีการเงิน

1.       เสนอข้อมูลแก่บุคคลภายนอก

2.       จัดทำภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย

3.       จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่ยอมรับโดยทั่วไป

4.       ข้อมูลจะถูกเสนอตามเวลาที่ผู้บริหารเกิดความต้องการ

5.       เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต

6.       เสนอข้อมูลในภาพรวมของกิจการ

7.       เสนอข้อมูลที่เกี่ยวกับรายการดำเนินงาน

8.       ข้อมูลจะถูกเสนอตามรอบบัญชี

บัญชีบริหาร

1.       เสนอข้อมูลแก่ผู้บริหาร

2.       ไม่อยู่ภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย

3.       ยืดหยุ่นตามประเด็นของปัญหาการตัดสินใจ

4.       เน้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อกับการตัดสินใจ

5.       เน้นข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต

6.       เน้นเสนอข้อมูลของกิจการโดยเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของกิจการ

7.       เสนอข้อมูลทั้งทางด้านเชิงคุณภาพและข้อมูลจากปัจจัยภายนอกก เช่น ภาวะเศรษฐกิจ

8.       ข้อมูลจะถูกเสนอตามเวลาที่ผู้บริหารเกิดความต้องการ

 

การบัญชีต้นทุนกับการบัญชีบริหาร

บัญชีต้นทุน คือ กระบวนการจดบันทึกและรายงานข้อมูลต้นทุนของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ลักษณะภาพรวม โดยวิธี

การรับรู้ การจำแนก การจัดสรร การรวบรวม ตลอดจนการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุน  มีลักษณะ คล้ายกับ การบัญชีบริหาร

                การบัญชีต้นทุนเน้นที่การสะสมข้อมูลต้นทุน แต่ บัญชีบริหาร เน้นการใช้ข้อมูลทางด้านต้นทุนเพื่อการวางแผน การควบคุมและการตัดสินใจ

                บทบาทหน้าที่ของฝ่ายบริหาร

1.       การวางแผน

2.       การประสานงาน

3.       การควบคุม

4.       การตัดสินใจ

หน้าที่ของผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี

                ผู้อำนวยการมีอำนาจหน้าที่ในการให้การสนับสนุนให้คำแนะนำและให้บริการข้อมูลทางการเงินตลอดจนบริการทางด้าานต่าง ๆ และอำนาจหลักในการบังคับบัญชาสมาชิกหรือบุคคลในหน่วยงาน

                หน้าที่หลัก ๆ ของผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี

1.       การวางแผนและการควบคุม

2.       รายงานและวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน

3.       การบริหารภาษีอากร

4.       การตรวจสอบภายใน

5.      การพัฒนาระบบข้อมูลทางการบัญชี

งบการเงิน

            ในการดำเนินงานของกิจการโดยทั่วไปเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีต้องมีการเสนอข้อมูลทางการเงินเพื่อประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในรูปของงบการเงิน ซึ่งงบการเงินจะเป็นรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินโดยอาศัยข้อมูลทางการบัญชีในการจัดทำ งบการเงินที่จัดทำขึ้นจะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลหลายฝ่ายเช่น เจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้นต้องการทราบผลการดำเนินงานและฐานะของกิจการเพื่อประโยชน์ในการประเมินประสิทธิภาพของผู้บริหาร เจ้าหนี้ของกิจการต้องการทราบข้อมูลทางการเงินเพื่อพิจารณาความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ รัฐบาลต้องการใช้ข้อมูลทางการเงินเพื่อประเมินภาษี พนักงานสนใจข้อมูลทางการเงินเพื่อประโยชน์ในการเรียกร้องค่าตอบแทนที่สูงขึ้น และผู้สนใจทั่วไปต้องการข้อมูลทางการเงินเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ วิจัยหรืออื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

1. ความหมายของงบการเงิน  (Definition of Financial Statement)

            งบการเงิน  หมายถึง  รายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับผลของการดำเนินงานของกิจการสำหรับระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อแสดงฐานะของกิจการค้า ณ วันใดวันหนึ่ง งบการเงินโดยทั่วไปจะประกอบด้วย งบดุล (Balance Sheet) งบกำไรขาดทุน (Income  Statement) 

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน (Statement of Change in Financial Position)นอกจากนี้งบการเงินยังรวมถึงหมายเหตุประกอบงบ  งบย่อย  และคำอธิบายอื่นซึ่งระบุไว้เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน

2. ประเภทของงบการเงิน  (Types  of  Financial  Statement)

            งบการเงินเป็นรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของกิจการและแสดงฐานะการเงินของกิจการ   ซึ่งสามารถแบ่งประเภทได้ดังนี้

      2.1 งบดุล (Balance Sheet)

      2.2 งบกำไรขาดทุน ( Income Statement)

      2.3 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน (Statement of Change in Financial Position)

 

2.1 งบดุล (Balance Sheet) เป็นงบการเงินที่ทำขึ้นในวันใดวันหนึ่งโดยปกติจะจัดทำ ณ วันสิ้นงวดบัญชีหรือสิ้นปี เพื่อแสดงฐานะของกิจการว่าประกอบด้วย  สินทรัพย์ หนี้สิน  และส่วนของเจ้าของเป็นจำนวนเท่าใด  รวมถึงการหมายเหตุต่อท้ายงบการเงิน ซึ่งเปิดเผยถึงรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวข้องกับภาระผูกพันที่อาจเกิดขึ้นได้

2.1.1 การจัดประเภทรายการในงบดุล

            รายการในงบดุลจะจัดประเภทรายการได้ดังนี้

 

     สินทรัพย์

1. สินทรัพย์หมุนเวียน

2. เงินลงทุน

3. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สินทรัพย์ถาวร)

4. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

5. สินทรัพย์อื่น

     หนี้สินและส่วนของเจ้าของ

1.หนี้สินหมุนเวียน

2. หนี้สินระยะยาว

3. หนี้สินอื่น

4. ส่วนของเจ้าของ

 

2.2  งบกำไรขาดทุน  (Income  Statement)  เป็นรายงานทางการเงินที่ทำขึ้นเพื่อแสดงว่าในระยะเวลาหนึ่ง ๆ กิจการมีรายได้รวมทั้งสิ้นเท่าใด  และมีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเท่าใด  หากรายได้รวมทั้งสิ้นมากกว่ารายได้รวมทั้งสิ้น

 2.2.1        การแบ่งประเภทรายการในงบกำไรขาดทุน

 1.  รายได้  (Income  or  Revenues)  หมายถึง  ผลตอบแทนจากการที่กิจการได้รับจากการประกอบการโดยปกติของกิจการอันเนื่องมาจากการจำหน่ายสินค้าหรือให้บริการ  รวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์  ซึ่งเป็นผลทำให้สินทรัพย์และส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น  หรือหนี้สินลดลง

รายได้แบ่งออกเป็น  2  ประเภท  คือ

1.1  รายได้จากการขาย  (Sale)  หรือรายได้จากการดำเนินงาน

(Operating  Revenues)  หมายถึง  รายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ  ซึ่งเป็นรายได้เกิดจากการดำเนินงานปกติ

             1.2 รายได้อื่น ๆ    (Other  Revenues)  หมายถึง  รายได้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานปกติ  ตามข้อ  1.1  ได้แก่  ดอกเบี้ยรับ  กำไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร  เงินปันผลรับ  เป็นต้น

2.  ค่าใช้จ่าย  (Expenses)  หมายถึง  สินทรัพย์ของกิจการที่ลดลงหรือหนี้สินที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการผลิต  การจัดหาสินค้าและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ  เพื่อการจำหน่ายสินค้าและบริการ     ค่าใช้จ่ายสามารถแบ่งตามประเภทของธุรกิจได้ดังนี้

2.1    กิจการให้บริการ  กิจการให้บริการจะมีค่าใช้จ่ายที่แสดงในงบกำไรขาดทุน  2  ประเภท

2.1.1  ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน  (Operating  Expenses)  ได้แก่  ค่าพาหนะ  ค่าน้ำ  ค่าไฟฟ้า  ค่าโทรศัพท์

2.1.2        ค่าใช้จ่ายอื่น    (Other  Expenses)  เช่น  ดอกเบี้ยจ่าย  ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวร  เป็นต้น

   2.2          กิจการขายสินค้า  กิจการขายสินค้าจะมีค่าใช้จ่ายที่แสดงในงบกำไรขาดทุน  2  ประเภท  คือ

2.2.1        ต้นทุนขาย  (Cost  Of  Goods  Sold)  หมายถึง  ต้นทุนสินค้าที่ขายในระหว่างงวด

2.2.2        ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน  (Operating  Expenses)  แบ่งออกเป็น  2  ประเภท  คือ

-  ค่าใช้จ่ายในการขาย  (Selling  Expenses)  เช่น  เงินเดือนพนักงานขาย 

ค่านายหน้า  ค่าโฆษณา

-          ค่าใช้จ่ายในการบริหารและทั่วไป  (Administrative  and  General  Expenses)  ได้แก่  เงินเดือนฝ่ายบริหาร  ค่าน้ำ  ค่าไฟฟ้า  ค่าเสื่อมราคา  เป็นต้น

2.2.3        ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Other  Expenses)  ได้แก่  ดอกเบี้ยจ่าย  ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวร  เป็นต้น

 

3.      กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ  (Net  Income  or  Net loss)   ในกรณีที่รายได้มากกว่าค่าใช้จ่ายจะเกิดผลกำไรสุทธิ  แต่ถ้ารายได้น้อยกว่าค่าใช้จ่ายจะเกิดผลขาดทุนสุทธิ

4.      รายการพิเศษ  (Extraordinary  Items)  หมายถึง  รายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกิดจากการดำเนินงานตามปกติของกิจการ จะเกิดภายใต้เงื่อนไข  2  ประการ  คือ

4.1  มีลักษณะผิดปกติ 

3.2    ไม่เกิดเป็นประจำ

5.      ภาษีเงินได้  (Income  Tax)  รายจ่ายของกิจการที่ต้องจ่ายให้กับรัฐบาลตามกำไรที่หามาได้ตามงวดบัญชีหนึ่ง

6.      กำไรต่อหุ้น  (Earnings  Per  Share)  หาได้โดยการนำกำไรสุทธิหารด้วยจำนวนหุ้นของบริษัททั้งหมด

 

รวบรวมโดย จรัส อินทร์คง

 




ความรู้เกี่ยวกับบัญชี

ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินปี พ.ศ. 2566 article
คำชี้แจงประกาศกรมกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) article
สมาคมการค้า article
สรุปความแตกต่าง ที่สำคัญของหลักการทางบัญชีกับกฎหมายภาษี สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ลูกหนี้
หลักเกณฑ์ และวิธีการนำส่งงบการเงิน และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น อัตราค่าปรับยื่นงบล่าช้าปี 2563 เป็นต้นไป article
ประกาศกรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นงบการเงิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2549 article
อัตราค่าปรับ กรณีไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้า ถึงปี 2555 article
การยื่นแบบคำขอใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล(BOI) article
สิทธิในการได้รับ ค่าชดเชย เมื่อถูกเลิกจ้าง article
สรุปมาตรฐานการบัญชี และการจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ article
รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินและความหมาย article
นิติบุคล มีหน้าที่ที่จะต้องปฎิบัติตามกฎหมายและพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ดังต่อไปนี้ article
ประกันสังคม การขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา 39 article
บัญชีสำหรับกิจการอุตสาหกรรม
Foreign Business Act B.E. 2542 (1999)
Accounting Act, B.E. 2543 (2000)
การโอนกิจการ และ การควบกิจการ
เงินปันผล และ เงินส่วนแบ่งกำไร พร้อม หลักการบัญชี
ตารางสรุป ภาระภาษี การควบหรือโอนกิจการ
งบกระแสเงินสด การจัดทำงบกระแสเงินสด
การปรับปรุงรายการทางบัญชี และ การแก้ไขข้อผิดพลาด
การวิเคราะห์งบการเงิน
ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 , พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี 2547 - ภาษาไทย
ACCOUNTING PROFESSIONS ACT, B.E. 2547 (2004)
ปัญหาเกี่ยวกับเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีและปัญหาเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี