ตารางสรุปภาระภาษีการควบหรือโอนกิจการ
ภาระภาษี |
ควบหรือโอนกิจการ |
โอนกิจการบางส่วน |
สถาบันการเงิน(ทั้งหมดหรือบางส่วน) |
บริษัททั่วไป(ทั้งหมด) |
โอนหุ้น |
โอนทรัพย์สิน |
1. 1. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
2. 1.1 ภาษีขาย
1.2 ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคาร |
ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตาม ม.77/1 (8) (ฉ)
ไม่เป็นภาษีต้องห้าม ตาม ปก. 84 แก้ไขเพิ่มเติม ปก.42 ข้อ 4 (ง) |
ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตาม ม.77/1 (8) (ฉ)
ไม่เป็นภาษีต้องห้าม |
|
เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
เป็นภาษีต้องห้าม ตาม ปก. 42 ข้อ 2 (4)
|
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ |
ยกเว้น ตาม พรบ. ธ.พาณิชย์ |
ยกเว้น ตาม พรฏ. ฉบับที่ 10 |
ไม่เสีย |
เสีย |
3. อากรแสตมป์ |
ยกเว้น ตาม พรบ.ธ.พาณิชย์ |
ยกเว้น ตาม พรฏ. ฉบับที่ 10 |
เสียอากร 1 บาท ทุกจำนวน 1,000 บาท (ไม่รวมถึงการโอนหุ้นในตลาดฯ) |
เสียอากร 1 บาท ทุกจำนวน 200 บาท |
4. ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน |
เสียค่าธรรมเนียมการโอน ในอัตรา 2% ของราคาประเมิน (ลดเหลือ 0.1 % กรณีควบตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน) |
เสียค่าธรรมเนียมการโอน ในอัตรา 2% ของราคาประเมิน |
- |
เสียค่าธรรมเนียมการโอน ในอัตรา 2% ของราคาประเมิน |
5. ภาษีเงินได้ของผู้ถือหุ้น
5.1 บุคคลธรรมดา
- ในประเทศ
- ต่างประเทศ
5.2 นิติบุคคลในประเทศ
5.3 นิติบุคคลต่างประเทศ |
ผลประโยชน์ที่ได้รับตาม ม.40(4)(ฉ)
ได้รับยกเว้นตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 207 (พ.ศ.2540)
ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ สำหรับมูลค่าทรัพย์สินที่ตีราคาเพิ่มขึ้น ตาม ม. 65 ทวิ (3) ตราบใดที่ยังถือหุ้นจำนวนเท่าเดิมและในราคาที่ตราไว้เดิม แต่ถ้าหุ้นเพิ่มมากขึ้น จะต้องถือเป็นรายได้เสียภาษี
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากัน หรือ โอนกิจการ ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 341 พ.ศ. 2541 |
ยกเว้นให้แก่ผู้ถือหุ้นที่เป็นผลประโยชน์ที่ได้รับ ตาม ม. 40(4)(ฉ) ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 215 พ.ศ. 2541)
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากัน หรือ โอนกิจการ ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 341 พ.ศ. 2541
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากัน หรือ โอนกิจการ ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 341 พ.ศ. 2541 |
|
|
6. ภาษีเงินได้ของบริษัท |
1. บริษัทที่มาควบกัน ( ก+ข = ค) ต้องจดทะเบียนเลิกกิจการและต้องชำระบัญชีภายในรอบบัญชีที่มีการควบโอนกิจการ หากเป็นกรณีโอนบางส่วน ไม่ต้องจดทะเบียนเลิกกิจการ
2. การโอนทรัพย์สินให้บริษัทผู้รับโอน ไม่ถือเป็นรายได้ หรือรายจ่ายของบริษัทเดิม จนกว่าบริษัทใหม่จะขายทรัพย์สินนั้นไป
3. การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน ให้บริษัทใหม่ถืออัตราเดิมและหักค่าเสื่อมราคาเท่าที่ระยะเวลาและมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่
4. บริษัทผู้รับโอน ห้ามนำมาเป็นผลขาดทุน ของบริษัทผู้โอนมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร(ขาดทุน)ทางภาษี |
1. บริษัทที่มาควบกัน ( ก+ข = ค) ต้องจดทะเบียนเลิกกิจการและต้องชำระบัญชีภายในรอบบัญชีที่มีการควบโอนกิจการ ตาม ม.74
2. การโอนทรัพย์สินให้บริษัทผู้รับโอน ไม่ถือเป็นรายได้ หรือรายจ่ายของบริษัทเดิม จนกว่าบริษัทใหม่จะขายทรัพย์สินนั้นไป
3. การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน ให้บริษัทใหม่ถืออัตราเดิมและหักค่าเสื่อมราคาเท่าที่ระยะเวลาและมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่
4. บริษัทผู้รับโอน ห้ามนำมาเป็นผลขาดทุน ของบริษัทผู้โอนมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร(ขาดทุน)ทางภาษี |
เงินได้จากการขายหุ้น ต้องเสียภาษีเงินได้ |
เงินได้จากการขายทรัพย์สิน ต้องเสียภาษีเงินได้ |