ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี คำแนะนำผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ใช้ 1 มกราคม 2554 - 31 ธันวาคม 2566)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม)
bulletคำชี้แจงประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


คำแนะนำผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา article

ผู้ต้องหาและจำเลยคือใคร

           "ผู้ต้องหา" คือบุคคลผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทำความผิด แต่ยังไม่ได้ถูกฟ้องต่อศาลและอาจจะถูกจับแล้วนำมาควบคุมหรือขังไว้เพื่อทำการสอบสวน
           "จำเลย" คือบุคคลซึ่งถูกฟ้องต่อศาลแล้วโดยข้อหาว่าได้กระทำความผิด

ผู้ต้องการจะถูกควบคุมนานเท่าใด

             เมื่อบุคคลใดถูกจับเป็นผู้ต้องหา ตำรวจมีอำนาจควบคุมผู้ต้องหานั้นได้ไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง และไม่เกิน ๒๕ ชั่วโมง สำหรับความผิดที่ขึ้นศาลคดีเด็กและเยาวชน ทั้งนี้นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหาถูกนำตัวมาถึงที่ทำการของเจ้าพนักงาน สำหรับความผิดลหุโทษ (ความผิดที่มีโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ) เจ้าพนักงานจะควบคุมตัวไว้เพียงเท่าเวลาที่จะถามคำให้การ ชื่อและที่อยู่เท่านั้น จากนั้นต้องปล่อยตัวไป

ผู้ต้องหาที่ถูกควบคุมหรือบังตัวในชั้นสอบสวนมีสิทธิดังนี้

             ๑. ให้การต่อพนักงานสอบสวนเมื่อถูกสอบสวน หรือปฏิเสธไม่ยอมให้การหรือขอไปให้การในชั้นศาล คำให้การต่อพนักงานสอบสวนนั้นอาจใช้เป็นพยานหลักฐาน ยันผู้ต้องหาในการพิจารณาคดีของศาลได้
             ๒. ขอพบทนายเพื่อปรึกษาคดีที่ถูกกล่าวหาสองต่อสอง
             ๓. ขอประกันตัวต่อพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการหรือศาลที่ออกหมายขัง แล้วแต่กรณี
             ๔. ได้รับเยี่ยมตามสมควร
             ๕. ได้รับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการเจ็บป่วย

การผัดฟ้องและฝางขังในศาลแขวง

             ๑. ความผิดที่เกิดขึ้นศาลแขวงนั้น พนักงานอัยการจะต้องฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลแขวงภายใน ๔๘ ชั่วโมง แต่ถ้าไม่อาจฟ้องผู้ต้องหาภายในเวลาดังกล่าวได้ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการต้องนำตัวผู้ต้องหามาศาลและยื่นคำร้องขอฝากขังและผัดฟ้องต่อศาล ศาลอนุญาตได้ไม่เกินคราว ๆ ละ ไม่เกิน ๖ วัน
             ๒. ผู้ต้องหาได้ประกันตัวชั้นสอบสวนไม่ต้องนำตัวผู้ต้องหามาศาบเพียวงแต่ยื่นคำร้อง ขอผัดฟ้องอย่างเดียว

การฝากขังในศาลอาญาหรือศาลจังหวัด 

             ๑. ถ้าผู้ต้องหาถูกควบคุมตัวอยู่และพนังานสอบสวนไม่อาจสอบสวนให้เสร็จสิ้นภายใน ๔๘ ชั่วโมง พนักงานสอบสวนต้องส่งผู้ต้องหามาศาลและพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการอาจยื่นคำร้องต่อศาลขอให้ขังผู้ต้องหาไว้ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่าฝากขังในกรณีความผิดที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๕๐๐ บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ ศาลมีอำนาจสั่งขังได้ครั้งเดียวมีกำหนดไม่เกิน ๗ วัน แต่ถ้ามีอัตราโทษเกินกว่านี้ ศาลอาจสั่งขังได้หลาย ๆ ครั้งติด ๆ กัน แต่ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๑๒ วัน รวมทั้งหมดไม่เกิน ๔๘ วัน เว้นแต่ความผิดที่มีอัตราโทษจำคุกตั้งแต่ ๑๐ ปี ขึ้นไป ศาลสั่งขังได้รวมทั้งหมดไม่เกิน ๘๔ วัน
             ๒. ผู้ต้องหาได้ประกันตัวชั้นสอบสวน ผู้ต้องหาไม่จำต้องมาศาลจนกว่าพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการจะขอฝากขัง แต่ต้องไม่เกิน ๖ เดือน นับแต่วันแรกที่มีการปล่อยชั่วคราว หรือนำตัวผู้ต้องหานั้นมาฟ้องต่อศาล
             ๓. สำหรับศาลจังหวัดที่นำวิธีการพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใช้บังคับพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการจะต้องขอฝากผัดฟ้องและฝากขังผู้ต้องนั้นต่อศาลจังหวัดเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติในศาลแขวง

การผัดฟ้องในศาลเยาวชนและครอบครัว  

              เมื่อเจ้าหน้าที่จับกุมเด็กหรือเยาวชนที่มีอายุไม่ครบ ๑๘ ปี ซึ้งต้องหาว่าได้กระทำความผิดและความผิดนั้นอยู่ในอำนาจของศาบเยาวชนและครอบครัว พนักงานสอบสวนจะต้องสอบปากคำเด็กหรือเยาวชนให้เสร็จภายใน ๒๔ นับแต่เวลาที่เด็กหรือเยาวชนมาถึงสถานที่ทำการของพนักงานสอบสวนแล้วส่งตัวเด็กหรือ
เยาวชนมาถึงสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก เมื่อครบ ๒๔ ชั่วโมง และต้องส่งสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อฟ้องศาลให้ทันภายในกำหนด ๓๐ วัน นับแต่วันจับกุม หากฟ้องไม่ทันพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการต้องยื่นคำร้องขอผัดฟ้อง ศาลจะอนุญาตได้ไม่เกิน ๔ คราว คราวละไม่เกิน ๑๕ วัน

เมื่อมีการฝากขังหรือผัดฟ้อง ผู้ต้องหามีสิทธิดังนี้

              ๑. แถลงคัดค้านคำร้องของพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการที่ขอฝากขังหรือผัดฟ้อง
              ๒. ยื่นคำร้องขอขอปล่อยชั่วคราวต่อศาล หากศาลอนุญาตให้ขังตามที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการร้องขอในกรณีได้รับอนุญาตให้ประกันตัวจากศาล ผู้ต้องหาต้องมาศาลทุกครั้งที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการยื่นคำร้องขอฝากขังต่อ และผู้ประกันอาจยื่น คำร้องขอประกันตัวต่อไปโดยให้ถือหลักทรัพย์และสัญญาเดิม

การสู้คดีในศาล

              ๑. แถลงคัดค้านคำร้องของพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการที่ขอฝากขัง หรือผัดฟ้อง
              ๒. กรณีราษฎรเป็นโจทก์ ศาลจะต้องทำการไต่สวนมูลฟ้องก่อนโดยศาลจะส่งสำเนาฟ้องกับแจ้งวันนัดไต่สวนให้จำเลยทราบจำเลยจะมาหรือไม่มาฟังการไต่สวนหรือ จะตั้งทนายให้ซักค้านพยานโจทก์ด้วยหรือไม่ก็ได้ในวันไต่สวนมูลฟ้อง ถ้าจำเลยจะรอฟังคำสั่งศาลจำเลยควรเตรียมหลักทรัพย์มาเพื่อขอประกันตัวด้วยเพราะ หากศาลมีคำสั่งว่าคดีมีมูลให้ประทับฟ้องโจทก์ไว้พิจารณาศาลอาจรับตัวจำเลยขังในระหว่างพิจารณาได้ ทางปฏิบัติศาลอาจไม่รับตัวจำเลยไว้ขังทันที แต่จะให้โอกาสจำเลยเตรียมตัวสู้คดีโดยจะนัดวันให้จำเลยยื่นคำให้การแก้คดีอีกครั้งหนึ่งในวันนัดแก้คดีจึงจะรับตัวจำเลยไว้ขังในระหว่างพิจารณา เว้นแต่จำเลยจะมีประกันตัวต่อไป

เมื่อศาลประทับฟ้องแล้ว หากจำเลยจะสู้คดีควรปฏิบัติดังนี้

             ๑. ยื่นคำร้องขอประกันต ล ทั้งนี้ไม่ว่าจำเลยจะได้รับอนุญาตให้ประกันตัวในชั้นสอบสวนหรือชั้นฝากขังหรือไม่ก็ตาม
             ๒. ยื่นคำให้การต่อศาล หากจำเลยประสงค์จะให้การต่อไป

การหาทนาย 

             โดยปกติจำเลยต้องหาทนายเองและเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง เว้นแต่คดีที่อัตราโทษประหารชีวิต ถ้าจำเลยไม่มีทนาย ศาลจะตั้งทนายให้ หรือคดีมีอัตราโทษจำคุกหรือคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ในวันถูกฟ้อง ถ้าจำเลยไม่มีและต้องการทนายศาลก็จะต้องทนายให้

การให้การต่อศาล

             เมื่อศาลประทับฟ้องแล้ว ก่อนที่ศาลจะพิจารณาคดีต่อไป ศาลจะอ่านและอธิบายฟ้องให้จำเลยฟัง และถามว่าได้กระทำผิดจริงหรือไม่ จำเลยจะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ หากจำเลยไม่ให้การถือว่าจำเลยปฏิเสธ

จำเลยประสงค์จะให้การควรปฏิบัติดังนี้

             ๑. ถ้าจำเลยกระทำผิดจริง ควรให้การรับสารภาพต่อศาล เพราะการรับสารภาพเป็นเหตุบรรเทาโทษอย่างหนึ่งซึ่งโดยปกติศาลจะปราณีลดโทษให้อันเป็นผลดีแก่จำเลยที่จะได้รับโทาในสถานเบา
             ๒. ถ้าจำเลยมิได้กระทำผิด หรือประสงค์จะต่อสู้คดีควรให้การปฏิเสธความผิด ส่วนการให้การในรายละเอียดอย่างไรจึงเป็นผลดีแก่จำเลยควรปรึกษาทนาย
             ๓. มีคดีบางประเภทกฎหมายยกเว้นโทษให้ บางกรณีกฎหมายถือว่าไม่เป็นความผิด บางกรณีกฎหมายถือว่าเป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษบางกรณีกฎหมายให้อำนาจศาลจะลงโทษน้อยกว่าโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมายหรือบางกรณีกฎหมายลดมาตรส่วนโทษให้ เช่น การกระทำเพื่อป้องกันสิทธิ การกระทำด้วยความจำเป็น การกระทำโดยบันดาลโทสะ บุพการีกระทำต่อผู้สืบสันดานหรือผู้สืบสันดานกระทำต่อบุพการี หรือพี่หรือน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
กระทำต่อกันหรือหรือในคดีที่เด็กอายุไม่เกิน ๑๗ ปี เป็นผู้กระทำความผิด ดังนั้นจำเลยจะให้การอย่างไรเพื่อให้ได้รับประโยชน์ตามเงื่อนไขของกฎหมายควรจะปรึกษาทนาย

การขอให้ศาลรอการลงโทษหรือรอการกำหนดโทษ

              ๑. ให้คดีความผิดซึ่งศาลจะลงโทษจำคุกไม่เกินสองปี ถ้าปรากฏว่าจำเลยไม่เคยได้รับโทษจำคุกมาก่อนแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษเมื่อศาลได้คำนึงถึงอายุประวัติความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพและสิ่งแวดล้อมของผู้นั้นหรือสภาพ
ความผิดหรือเหตุอื่นอันควรปราณีแล้ว ศาลอาจจะรอการลงโทษหรือการกำหนดโทษจำเลยก็ได้ อันเป็นผลดีแก่จำเลยที่จะไม่ต้องรับโทษจำคุก
              ๒. จำเลยที่จะประสงค์จะขอให้ศาลรอการลงโทษหรือรอการกำหนดโทษควรเตรียมหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอายุ ประวัติ ความประพฤติ ฯลฯ ดังกล่าวในข้อ ๑ ที่มีอยู่มาให้พร้อม และยื่นต่อศาลเพื่อประกอบใช้ดุลพินิจของศาล เช่น เรื่องอายุของจำเลยก็ควรมีสูติบัตรหรือสำเนาทะเบียนบ้านหรือบัตรประชาชนมาแสดง ถ้าเป็น
นักเรียนก็ควรมีใบรับรองจากโรงเรียน ถ้าเป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ก็ควรมีคำรับรองจากผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้าง หรือถ้าหากเป็นกรณีที่มีการชดใช้ค่าเสียหาย จำเลยก็ควรนำผู้เสียหายมาแถลงต่อศาลด้วย หากนำมาไม่ได้จริง ๆ ก็ควรมีบันทึกข้อตกลงเรื่องค่าเสียหายซึ่งพนักงานสอบสวนทำไว้หรือให้พนักงานอัยการโจทก์รับรองว่า
เป็นจริง
               ๓. ในบางคดีศาลอาจมีคำสั่งให้พนักงานคุมประพฤติทำการสืบเสาะและพินิจจำเลยก่อนพิพากษาเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติความประพฤติของจำเลยและพฤติการณ์แห่งคดี ฯลฯ นำมาประกอบในการใช้ดุลพินิจลงโทษจำเลย ระหว่างการสืบเสาะจำเลยจะต้องถูกขังไว้ในเรือนจำ จึงควรเตรียมหลักทรัพย์มาขอประกันตัวต่อศาล

การพิจารณาคดีอาญาในศาลต้องทำต่อหน้าจำเลย 

               การพิจารณาและการสืบพยานในคดีอาญานั้น ศาลต้องกระทำต่อหน้าจำเลย จำเลยจึงต้องมาศาลทุกนัดที่มีการพิจารณาคดีเรื่องที่ตนถูกฟ้อง เว้นแต่
               ๑. ในคดีมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน ๑๐ ปี จะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม หรือในคดีมีโทษปรับสถานเดียว เมื่อจำเลยมีทนายและจำเลยได้รับอนุญาตจากศาลที่จะไม่มาฟังการพิจารณาและสืบพยาน
               ๒. ในคดีที่มีจำเลยหลายคน ถ้าศาลพอใจตามคำแถลงของโจทก์ว่าการพิจารณาและการสืบพยานตามที่โจทก์ขอให้กระทำไม่เกี่ยวแก่จำเลยคนใดศาลจะพิจารณาและสืบพยานลัหลังจำเลยคนนั้นก็ได้
               ๓. ในคดีที่มีจำเลยหลายคน ถ้าศาลเห็นสมควรจะพิจารณาและสืบพยานจำเลยคนหนึ่ง ๆ ลับหลังจำเลยคนอื่นก็ได้
               ๔. ในกรณีที่มีการส่งประเด็นไปสืบพยานที่ศาลอื่นหรือการเดินเผชิญสืบนอกศาล จำเลยจะไปฟังการพิจารณาหรือไม่ก็ได้

หน้าที่นำสืบ

               ในคดีอาญากฎหมายสันนิษฐานว่าจำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นผู้กระทำผิด ดังนั้นโจทก์มีหน้าที่นำพยานหลักฐานมาพิสูจน์ความผิดของจำเลย โดยต้องนำสืบก่อนว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิดแล้วจำเลยจึงนำสืบแก้ข้อกล่าวหาของโจทก์ เมื่อมีความสงสัยความสมควรว่าจำเลยได้กระทำผิดหรือไม่
ศาลจะยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้นให้จำเลย

ค่าธรรมเนียม

                ในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอาญาในศาล จำเลยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดทั้งสิ้น เว้นแต่ค่ารับรองสำเนาในเอกสาร

การอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่ง

                โดยปกติศาลต้องอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งให้จำเลยฟัง จำเลยจึงต้องมาฟังตามวันเวลาที่ศาลนัด ถ้าจำเลยไม่มาฟังและศาลมีเหตุสงสัยว่าจำเลยจงใจหลบหนี หรือจงใจไม่มา ศาลจะออกหมายจับจำเลย ถ้ายังไม่ได้ตัวจำเลยมาภายใน ๑ เดือน นับแต่วันออกหมายจับ ศาลอาจอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นลับหลังจำเลยได้โดย
ถือว่าจำเลยได้ฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นแล้ว

การอุทธรณ์หรือฎีกา

                 ๑. เมื่อศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยแล้ว ถ้าเป็นคดีที่ไม่ต้องห้ามอุทธรณ์หรือต้องห้ามฎีกา โจทก์จำเลยมีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกาไปยังศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา โดยยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อศาลชั้นต้น ภายในกำหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านหรือถือว่าได้อ่านคำพิพากษาศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์แล้วแต่กรณีให้จำเลยฟัง
คดีจะอุทธรณ์หรือฎีกาได้หรือไม่ ควรปรึกษาทนายความ
                 ๒.
กรณีที่จำเลยถูกจำคุกอยู่ในเรือนจำ จำเลยอาจยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อพัศดีภายในกำหนดอายุอุทธรณ์หรือฎีกาเพื่อให้พัศดีส่งไปยังศาล
                 ๓. กรณีที่โจทก์อุทธรณ์หรือฎีกา หากศาลส่งสำเนาอุทธรณ์หรือสำเนาฎีกาให้จำเลยไม่ได้ไม่ว่าจะเป็นเพราะหาตัวจำเลยไม่พบ หรือจำเลยหลบหนีหรือจำเลยจงใจไม่รับสำเนาอุทธรณ์หรือสำเนาฎีกาก็ตาม ศาลชั้นต้นจะส่งสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาพิจารณาพิพกษาคดีต่อไป แต่หากจำเลยได้รับสำเนาอุทธรณืหรือฎีกาของโจทก์แล้วจำเลยจะแก้หรือไม่ก็ได้หากจะแก้ต้องแก้ภายในกำหนด ๑๕ วัน นับแต่วันรับสำเนาอุทธรณ์หรือฎีกา
                 ๔. จำเลยจะให้ทนายจำเลยยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาต่ศาลแทนตนก็ได้ แต่ถ้าจำเลยและทนายต่างยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาด้วยกัน ศาลจะเรียกจำเลยมาสอบถามให้เลือกเอกอุทธรณ์หรือฎีกาฉบับหนึ่งฉบับใดเพียงฉบับหนึ่ง
                 ๕. เมื่อศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโมษจำคุกจำเลย หากเป็นคดีที่ไม่ต้องห้ามอุทธรณ์หรือฎีกาจำเลยต้องยื่นคำร้องขอประกันตัวพร้อมคำฟ้องหรือฎีกา โดยยื่นต่อศาลชั้นต้น แต่ถ้าหากจำเลยทำคำฟ้องอุทธรณ์หรือฎีกายังไม่เสร็จจำเลยต้องทำคำร้องว่าจะอุทธรณ์หรือฎีกาคัดค้าน คำพิพากษาพร้อมกับยื่นคำร้อง ขอประกันตัวต่อศาลชั้นต้น ศาลชั้นต้นอาจจะสั่งเรื่องประกันนั้นเองหรือส่งไปให้ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาสั่งเมื่อศาลชั้นต้นได้รับอุทธรณ์หรือฎีกาของจำเลยแล้ว

เมื่อคดีถึงที่สุดจำเลยมีสิทธิอย่างไร 

        เมื่อคดีถึงที่สุดจำเลยได้รับโทษอย่างใด จำเลยมีสิทธิที่จะทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวขอรับพระราชทานอภัยโทษ ลดโทษหรือหยุดการบังคับโทษ โดยจำเลยหรือผู้ที่มีประโยชน์เกี่ยวข้องต้องยื่นเรื่องราวต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ถ้าหากจำเลยต้องจำคุกอยู่ในเรือนจำ จะยื่นต่อพัศดีหรือผู้บัญชาการเรือนจำก็ได้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ถวายเรื่องราวได้เพียงครั้งเดียวภายในกำหนด ๖๐ วัน นับแต่วันฟังคำพิพากษา
จำเลยต้องโทษประหารชีวิตจะทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวได้เพียงครั้งเดียวภายในกำหนด ๖๐ วัน นับแต่วันฟังคำพิพากษา
ส่วนโทษอย่างอื่นจะยื่นทูลเกล้าฯ เมื่อไรก็ได้ แต้ถ้าถูกยกหนหนึ่งแล้วจะยื่นใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้น ๒ ปี นับแต่วันถูกยกครั้งก่อน

โทษทางอาญา

                ๑. โทษทางอาญามีอยู่ ๕ สถานคือ โทษประหารชีวิต โทษจำคุก โทษกักขัง โทษปรับ และโทษริบทรัพย์สินโทษประหารชีวิต จำเลยจะถูกประหารชีวิตก็ต่อเมื่อพ้น ๖๐ วัน นับแต่วันฟัง คำพิพากษาอันถึงที่สุด เว้นแต่จำเลยจะทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวขอให้พระราชทานอภัยโทษก็จะได้รับการรอการประหารชีวิตไว้จนกว่าจะพ้น ๖๐ วัน
นับแต่วันที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง แต่ถ้าทรงยกเรื่องราวนั้นเสียก็จะดำเนินการประหารชีวิตได้เลย
                ๒. จำเลยที่ต้องโทษจำคุกจะถูกขังไว้ในเรือนจำ การคำนวณระยะเวลาจำคุกจะนับวันเริ่มจำคุกรวมเข้าด้วยและนับเป็นหนึ่งวันเต็มโดยไม่คำนึงจำนวนชั่วโมง
ถ้าระยะเวลาจำคุกกำหนดเป็นเดือนก็นับสามสิบวันเป็นหนึ่งเดือน ถ้ากำหนดเป็นปี ก็คำนวณตามปีปฏิทิน
                ๓. โทษกักขัง จำเลยจะถูกกักขังไว้ในสถานที่กักขังซึ่งกำหนดไว้ แต่มิใช่เรือนจำโดยปกติจะนำไปกักขับที่สถานีตำรวจหรือถ้าเจ้าพนัะกงานตำรวจเห็นสมควร ก็อาจจะส่งตัวไปกักขังไว้ ณ สถานกับขังกลาง จังหวัดปทุมธานีก็ได้ หรือถ้าศาลเห็นสมควรก็อาจสั่งในคำพิพากษาให้กักขังไว้ในที่อาศัยของจำเลยเอง
หรือของผู้อื่นที่ยินยอมรับจำเลยไว้
                 ๔. โทษปรับ ถ้าจำเลยไม่ชำระค่าปรับภายใน ๓๐ วัน นับแต่ที่พิพากษาจะถูกยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับหรือจะถูกขังแทนค่าปรับหากจำเลยไม่ชำระค่าปรับ ในวันฟังคำพิพากษา ศาลอาจสั่งให้กักขังแทนค่าปรับทันที โดยถือว่าเป็นการกักขังแทนค่าปรับไปพลางก่อน เว้นแต่จำเลยขะขอประกันตัวเพื่อหาเงินมาชำระค่าปรับ
                  การกักขังแทนค่าปรับถืออัตรา ๗๐ บาท ต่อหนึ่งวันและนับวันแรกเป็นหนึ่งวันเต็ม โดยไม่ต้องคำนึงถึงจำนวนชั่วโมงในกรณีที่จำเลยชำระค่าปรับศาล จะคิดหักวันที่จำเลยถูกคุมขัง มาก่อนออกจากจำนวนเงินค่าปรับไม่ว่าจำเลยจะถูกคุมขังที่สถานีตำรวจหรือเรือนจำการ
                  กักขังแทนค่าปรับนั้น ไม่ว่าค่าปรับจะมากเพียงใด ห้ามศาลสั่งกักขังเกิน ๑ ปี เว้นแต่ค่าปรับตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไปศาลจะสั่งกักขังเกินกว่า ๑ ปี แต่ไม่เกิน ๒ ปี ก็ได้
.                ๕.โทษริบทรัพย์ เป็นโทษซึ่งกระทำแก่ทรัพย์สินซึ่งบุคคลใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิดและทรัพย์สินเหล่านี้เป็นทรัพย์สินของผู้อื่น ซึ่งมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยการกระทำผิด เจ้าของทรัพย์ที่แท้จริงอาจยื่นคำร้องขอคืนต่อศาลได้ การยื่นคำร้องขอทรัพย์สินคืนนี้โดยปกติยื่นได้ภายในกำหนด ๑ ปี
ในกรณีที่เป็นทรัพย์สินซึ่งกฎหมายบัญญัติไว้ว่าผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด เช่น ปืนเถื่อน ฝิ่นหรืเฮโรอีน ไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะเป็นของผู้ใด ศาลจะสั่งริบทั้งสิ้น




ความรู้เกี่ยวกับกฏหมาย

ความผิดอาญา ที่ยอมความได้ article
ขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่ง article
การร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก article
การเลิกจ้างที่ไม่ต้องจ่ายเงินชดเชย article
ถอนคืนการให้เพราะเหตุเนรคุณ article
แพ้คดีมา 10 ปีแล้วเจ้าหนี้ยังตามยึดทรัพย์ได้ article
นิติกรรมสัญญาในชีวิตประจำวัน article
หนี้ขาดอายุความก็สามารถฟ้องร้องได้ article
รู้ก่อนจดทะเบียนสมรส ไม่ปวดหัวในวันไม่สมรัก
สิทธิของผู้ถือหุ้น ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์
รถหายในห้างใครรับผิดชอบ
อุบัติเหตุทางจราจร ต้องรับผิดอย่างไรบ้าง
มรดก
การหย่าร้าง เหตุหย่า
วิธีการและขั้นตอน การซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาด
ขับรถ 'ชนคนตาย' แบบไหนถึง 'รอดคุก'
แก้เกมการทวงหนี้ บัตรเครดิต - บัตรเงินผ่อน
ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินคดีแพ่ง
ระวังการประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด อาจขัดต่อกฎหมาย
สรุปสาระสำคัญการแก้ไขป.พ.พ.ว่าด้วยหุ้นส่วนบริษัท มีผลบังคับใช้ 1 กรกฎาคม 2551
สรุปสาระสำคัญการแก้ไขกฎหมายหุ้นส่วนบริษัท เริ่มใช้ 1 กรกฎาคม 2551
การยื่นคำร้องขอให้ศาลตั้ง ผู้จัดการมรดก ของหน่วยงานคุ้มครองสิทธิ
การออกใบหุ้นและการโอนหุ้น
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการส่งคำบอกกล่าวเรียกนัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด
พระราชบัญญัติ กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ
ยึดเงินเดือนเพื่อชำระหนี้
สัญญาเปล่ากับลายเซ็นต์
ทำไม่ได้...อย่าสัญญา
การเลิกบริษัท เอกสารที่ใช้ประกอบการจดทะเบียนเลิกบริษัท
5 เรื่องสำคัญ ประชุมใหญ่ประจำปีที่ห้ามพลาด สำหรับนิติบุคคลอาคารชุด
ถูกเลิกจ้างต้องได้ เงินชดเชย จากนายจ้างเท่าไร



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี