ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม สำนักงานบัญชี,สำนักงานสอบบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,ตรวจสอบบัญชี,ผู้สอบบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,รับทำบัญชี
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


ปล้นบัตรเครดิต... กันอย่างไร article
ปล้นบัตรเดรดิต .. อย่างไร
ที่จริงคำว่า ปล้น อาจแรงไป .. แต่ผมว่า มันสื่อกว่าคำว่า ขโมย หรือ copy เยอะเลยครับ
สารบัญ
1. โทรถาม 3 ตัวท้ายของ indent-printed account number
2. Skimming คือ การ copy บัตรแบบมืออาชีพ
3. ใช้บัตรในห้างสรรพสินค้า หรือหน้าตู้ ATM
4. การป้องกันบัตรเครดิต (Preventing Card Fraud)
5. คำเตือนจากธนาคารไทยพาณิชย์
6. ใช้บัตรใน Telewiz ปลอดภัยกว่าใน BigC
Link : เว็บที่มีข้อมูล และบริการเรื่อง บัตรเครดิต
 
บทนำ
2549-04-21 : พบการปิด และไม่ปิดเลขบัตรเครดิต เมื่อใช้จ่ายที่ Telewiz และ BigC อาจทำให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเดินตามท่าน เพราะหวังใบเสร็จที่อยู่ในตะกร้า หรือในถึงขยะ กรณีที่ท่านขยำทิ้ง เพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์
2548-03-18 : ฟังวิทยุเรื่อง 3 ตัวท้ายในบัตรเครดิตวีซ่า แต่ไม่ใช่เรื่องใหม่ เคยได้ยินมาหลาย ๆ ครั้ง จึงตัดสินใจ สรุปเรื่อง 3 ตัวท้ายอีกครั้ง ว่าเกิดอะไรขึ้นในปัจจุบัน และเขานำไปนำอะไรได้บ้าง .. เพราะผู้ร้าย ไม่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลในบัตรให้ครบทั้ง 7 อย่างให้ครบ จึงจะนำไปซื้อของได้ แค่ 2 อย่างเขาก็นำไปซื้อของได้แล้ว .. เช่นเครื่องรูดบัตรแบบ off-line ตอนไฟฟ้าดับ
2544-10-01 : ผมได้อ่านจุลสาร การเงินธนาคาร ปีที่1 ฉบับที่ 1 กันยายน 2544 ซึ่งเป็นจุลสารที่แจกมากับผู้ถือบัตรเครดิตธนาคารทหารไทย ในหน้าที่ 2 มีเรื่องของ "Skimming" โจรไฮเทค ก๊อบปี้ข้อมูลทำบัตรปลอม เรื่องนี้ผมเคยทราบจาก จดหมายเวียนในการไฟฟ้าแม่เมาะ และครั้งนี้ทำให้ผมเข้าใจ ได้ละเอียดขึ้น จึงขอนำมาเผยแพร่ต่อ .. ก่อนจะสายเกินไป
ข้อมูล 7 อย่างในบัตรเครดิต
1. Embossed account numbers 16 หลัก (ตัวพิมพ์นูน)
2. Valid from และ Good thru (Valid dates หรือ Expired date)
3. Security Character (ตัวพิมพ์นูน)
4. Account holders name (ตัวพิมพ์นูน)
5. Indent-printed account number (รหัสในช่องเซ็นชื่อ)
6. Authorized signature
7. Magnetic tape

1. โทรถาม 3 ตัวท้ายของ indent-printed account number
ช่วงปี 2547 ผมได้รับโทรศัพท์นับ 10 ครั้งจากหลาย ๆ คน และหลายบริษัท เช่น ประกันชีวิต หรือให้เปิดเครดิตกู้เงิน .. แน่นอนผมใช้บริการไปบ้างก็มี ตอนผมทำประกันกับคนที่โทรมานะครับ ผมแค่บอกเลขบัตรประชาชน กับให้สัมภาษณ์เรื่องสุขภาพทางโทรศัพท์แค่นั้นเอง เขาก็ยอมให้ผมทำประกัน และตัดบัตรเครดิตผมทุกเดือนได้แล้ว ทุกเดือนนี้ผมก็จ่ายค่าประกัน แบบไม่ต้องเซ็นชื่ออะไรเลย หลังโทรศัพท์เขาก็ส่งเอกสารมาให้ภายใน 1 เดือน แล้วก็หักเงินเดือนละ 3 ร้อยกว่าบาท ... ที่น่าสังเกต คือ เขาได้ข้อมูลของผมไปได้อย่างไร เขารู้ได้อย่างไรว่าผมมีบัตรเครดิต และ ข้อมูลที่เขาได้ไปจะไปอยู่ในมีคนอื่นอีกหรือไม่ .. บางครั้งบริษัทเดียวกันนั่นหละครับ เปลี่ยนพนักงานขายโทรมา ซึ่งผมก็คุยกับเขาดี ๆ กลับไปทุกครั้ง เพราะไม่อยากให้เขาเสียน้ำใจ หรือเสียกำลังใจในการทำงาน อย่างน้อยเขา .. ก็เดินตามตะวันเหมือนผม
บ่อยครั้งที่มีข่าวในหนังสือพิมพ์ว่า มีผู้ไม่ประสงค์ดี โทรไปขอเบอร์ 3 ตัวท้ายบนบัตรเครดิต โดยอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของธนาคาร หรือหน่วยงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือ สุด สุด พร้อมกับมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่านครบถ้วน เช่น ชื่อเขา องค์กรเขา เบอร์โทรเขา ชื่อท่าน เบอร์โทร เลขบัตรท่าน ขาดแต่เลขความปลอดภัย ที่อยู่ด้านหลังบัตรตรงลายเซ็น ถ้าเขาได้เลขนี้ไป ก็คงนำไปซื้ออะไรต่อมิอะไร แล้วใครครับที่ต้องเสียเงิน .. ได้ยินว่ามีผู้คนมากมาย ถูกหลอก แต่มีหลาย ๆ คนไม่เชื่อ โทรกลับไปตามเบอร์ที่เขาให้ไว้ เพื่อตรวจสอบ ก็พบว่า .. อ๋อ ฉันโดนเข้าแล้ว

2. Skimming คือ การ copy บัตรแบบมืออาชีพ
ความหมาย :
ปัจจุบันมีวิธีการขโมยบัตรที่ชื่อว่า Skimming ข้อมูล เพื่อไปทำบัตรปลอม โดยใช้วิธีแอบนำบัตรจริงไปรูดผ่านเครื่อง Skimmer ซึ่งมีความยาวเพียง 10 cm ซึ่งจะทำการ copy แถมแม่เหล็กบนหลังบัตร หลังจาก copy ก็จะนำไปเขียนในแถบแม่เหล็กใหม่ ทำให้สามารถบัตรปลอม มีข้อมูลเหมือนบัตรจริงทุกประการ
ขนาด :
สำหรับเครื่อง Skimmer นี้มีหลายรุ่น ไม่นานมานี้มีแบบ Palmtop sized skimmer แต่ใหญ่พกใส่กระเป๋าไม่ได้ ล่าสุดมี Pager sized skimmer ซึ่งเล็กเท่า Pager
วิธีการ :
แก๊งนี้จะนำเครื่องไปฝากไว้กับแคชเชียร์ หรือพนักงานเสิร์ฟที่สมรู้ร่วมคิด เมื่อลูกค้าชำระด้วยบัตร ก็จะแอบรูดเพียงไม่กี่วินาที ส่วนใหญ่แหล่งที่ทำจะเป็นตามโรงแรมขนาด 5 ดาว เพราะลูกค้ามีฐานะดี .. เหยื่อเยอะ
ความเสียหาย :
ผมไม่แน่ใจว่าเขานำไปทำอะไรได้บ้าง แต่คาดว่า เขาสามารถนำไปซื้อของผ่าน Internet, ซื้อของในห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
สถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง :
1. ร้านอาหารทุกประเภท 
2. โรงแรม หรือม่านรูด
3. ปั๊มน้ำมัน

3. ใช้บัตรในห้างสรรพสินค้า หรือหน้าตู้ ATM ปัจจุบัน จะใช้บัตรเครดิตใน internet ต้องมีเลข 3 ตัวท้ายด้านหลังบัตร .. เพิ่มขึ้นมา
การใช้บัตรซื้อของ หรือใช้จ่ายใน Internet มักใช้เพียง 2 อย่างคือ เลขบัตร + วันหมดอายุ ดังนั้น โจรไม่จำเป็นต้องมีบัตร แต่มีเลขแค่ 2 ตัวนี้ก็จำไปซื้อของใน Internet ได้แล้ว อาจซื้อของง่าย ๆ เช่น จ่ายค่าภาพโป๊ Online ก็ไม่มีใครจับโจรได้แล้ว เป็นต้น
นั่งอยู่ที่จอดรถในห้างสรรพสินค้า เมื่อลูกค้าเข็นรถไปที่จอดรถ เก็บของเข้ารถหมดแล้ว แต่ลูกค้าบางคน ทิ้ง Slip ไว้ที่รถเข็น ท่านทราบ หรือไม่ว่า ลูกค้าบางท่านใช้บัตรเครดิตซื้อของ แล้วใน Slip นั้นจะมีเลขบัตร และวันที่หมดอายุของบัตร โจรสมัครเล่นบางคน อาจนำข้อมูลนี้ไปจด Domain ของเขาก็ได้ .. จึงขอเตือนว่า เวลาไปซื้อของเช่น BigC เมื่อได้ Slip มาต้องนำกลับไปทำลายที่บ้าน ไม่ให้เลือกซาก .. ปลอดภัยที่สุด
Advance เงินสด ด้วยบัตรเครดิต หน้าตู้ ATM จะมีข้อมูลของบัตรเขียนลงไป เมื่อได้เงินแล้ว ลูกค้ามักจะทิ้ง Slip ลงถัง ผมยังเคยเห็นคนนำถุงพลาสติก มาเก็บ Slip ไป ก็ไม่รู้ว่า คนเก็บเป็นเจ้าหน้าที่ของธนาคาร นำ Slip ไปทำลาย หรือไปทำอย่างอื่น ถ้าท่านเป็นลูกค้า ก็ขอเตือนว่า เมื่อได้ Slip แล้ว ก่อนทิ้งลงถัง ให้ฉีกทำลาย .. มิเช่นนั้นอาจมีรายการใช้จ่าย ที่ท่านไม่ได้ใช้ก็ได้
       

4. การป้องกันบัตรเครดิต (Preventing Card Fraud)
จาก http://www.fraudinvestigator.co.za/credit_card_fraud.htm
A credit card is a convenient method of payment, but it does carry risks. There is a chance that you might fall victim to credit card fraud. You can, however, protect yourself by being aware of the risks involved, the different types of credit card fraud and by following these simple guidelines.
+ > - Think of credit cards as cash, just carry the cards you’ll need.
+ > - Never leave your cards unattended.
+ > - Destroy expired cards.
+ > - Sign new cards immediately.
+ > - Report lost or stolen cards immediately.
+ > - Protect your PIN – memorise it.
+ > - Do not keep your PIN and card in the same place.
+ > - Be careful when giving your personal and credit card information to unknown persons.
+ > - Destroy all financial information (i.e. account numbers, bank statements, ATM and sales receipts etc.) before throwing it away.
+ > - Verify transactions on your credit card statement with your receipts.
+ > - Ensure that you get your card back after every transaction.
+ > - Keep a record of the card account number, expiration date and the toll-free number to call.
+ > - Keep an eye on your card duringall transactions.
+ > - Do not use a credit card to "validate" a cheque or any other transaction.
+ > - Do not sign a blank credit card slip.

5. คำเตือนจากธนาคารไทยพาณิชย์
ระวัง! กลลวงการโจรกรรมข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการโจรกรรมข้อมูลแบบใหม่ ซึ่งกำลังถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างหน้าจอให้ผู้ใช้งานเข้าไปกรอกข้อมูลส่วนตัวที่สำคัญ เช่น รหัสผ่าน, เลขบัตรเครดิต หรือ ข้อมูลบัญชี ลงใน website ปลอมหรือแบบฟอร์มสอบถามนั้นๆ แล้วจะนำข้อมูลดังกล่าวไปกระทำการทุจริตต่างๆ เช่น ถอนเงิน หรือ ซื้อสินค้าและบริการโดยใช้บัตรเครดิต เป็นต้น
 
ข้อควรปฏิบัติเมื่อพบหน้าจอลักษณะดังกล่าว
- หยุดการใช้งาน และห้ามป้อนข้อมูลใดๆ ลงไปในหน้าจอดังกล่าว
- ทำการตรวจสอบไวรัส โดยใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส เช่น Symentec , McAfee, Trend Micro เป็นต้น
- อัพเดท Microsoft Security Patch สำหรับ Microsoft Windows
แนวทางการป้องกันตัวเองจากการโจรกรรมข้อมูล
- ธนาคารไม่มีนโยบายใดๆ ในการสอบถามข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลบัญชี รหัสผ่าน หรือ PIN ของคุณผ่านทางอีเมล หรือในระหว่างทำรายการผ่านบริการ SCB Easy Net
- ควรตรวจสอบยอดเงินในบัญชีของท่านอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันรายการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
- ควรใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสและอัพเดทฐานข้อมูลไวรัส (DAT Files) เป็นเวอร์ชั่นล่าสุดเสมอ
- อัพเดท Microsoft Security Patch สำหรับ Microsoft Windows อยู่เสมอ กรณีที่ท่านใช้ Microsoft Windows XP ควรอัพเกรดเป็น Service Pack 2
- หากท่านสงสัยว่า หน้าจอในการทำรายการ หรือ e-mail ใด เป็นการหลอกลวง กรุณาติดต่อที่ศูนย์บริการลูกค้า SCB Easy Call Center โทร. 02-777-7777

6. ใช้บัตรใน Telewiz ปลอดภัยกว่าใน BigC
พบการปิด และไม่ปิดเลขบัตรเครดิต เมื่อใช้จ่ายที่ Telewiz และ BigC อาจทำให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเดินตามท่าน เพราะหวังใบเสร็จที่อยู่ในตะกร้า หรือในถึงขยะ กรณีที่ท่านขยำทิ้ง เพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์
เหตุเกิดเพราะ ผู้เขียนเคยใช้บัตรเครดิตชำระค่าสินค้าใน TeleWiz และ BigC พบสิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือ เรื่องความปลอดภัย (Security) ของการแสดงเลขบัตรเครดิต ในใบเสร็จ เมื่อจ่ายเงินใน BigC เลข 16 หลัก จะแสดงในใบเสร็จพร้อมวันหมดอายุของบัตร แต่เมื่อจ่ายกับ Telewiz จะไม่แสดงเลขบัตรทั้ง 16 หลัก ทำให้ผู้ที่ได้ใบเสร็จไป ไม่สามารถนำรหัสบัตรเครดิตไปใช้ได้
แต่ถ้าเป็นใบเสร็จของ BigC จะแสดงเลขบัตรเครดิต 16 หลักในใบเสร็จ ถ้าใครได้เลขบัตรนี้ไป พร้อมวันหมดอายุที่อยู่ในใบเสร็จ ก็จะนำไปใช้จ่ายในอินเทอร์เน็ตได้ เช่น จ่ายค่าสินค้า หรือบริการบางอย่าง ที่ไม่ถามรหัสความปลอดภัย 3 ตัวท้าย .. ผู้เขียนต้องฉีกใบเสร็จทุกครั้ง และทิ้งลงไปในถุงสินค้า เพราะถ้าทิ้งไว้ในห้างสรรพสินค้า อาจมีผู้ไม่ประสงค์ดี นำมาต่อกันก็ได้

Link : เว็บที่มีข้อมูล และบริการเรื่อง บัตรเครดิต
  1. ScbEasy.com ที่นี่ผมเป็นสมาชิก เพราะตรวจยอดเงินในบัญชีผ่าน Net และไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ .. สะดวกดีครับ
  2. Credit card fraud : skimming ที่นี่ยังมีเรื่องอื่น ที่เป็นปัญหาของ Credit card ให้อ่านอีก
  3. Guard against skimmers มีเรื่องหลายอย่างเกี่ยวกับ Credit card ได้ .. น่าอ่านครับ
  4. Credit card fraud ข้อมูลเรื่องการโกง การป้องกัน เขียนเข้าใจง่ายดี
  5. Master Card : คู่แข่งของ Visa แต่ผมใช้ visa ครับ ไม่รู้ทำไมเลือก visa เหมือนกัน
  6. Visa : ในเอเชีย ข้อมูลสมบูรณ์ดีครับ
  7. Security โดย ธนาคารไทยพาณิชย์
  8. www.ou.edu/oupd/idtheft3.htm เตือนภัยจากบัตรเครดิต 

ที่มาของข้อมูล : www.thaiall.com



บทความเพิ่มเติม

แม่บทการบัญชี article
กฏหมายใหม่ - คำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. 155/2549 เรื่องการใช้เกณฑ์สิทธิ...เริ่มบังคับ 1 ม.ค.2550 article
การบันทึกบัญชี เมื่อมี การตีราคาทรัพย์สินใหม่ article
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สามารถ ลงลายมือชื่อ ขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท ได้แล้ว article
ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ และขายสินค้าโดยไม่ผ่านประเทศไทย article
ความแตกต่างระหว่าง การขายผ่อนชำระ และ การเช่าซื้อ article
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมธนาคาร นำมารวมเป็นต้นทุนของสินค้าได้หรือไม่ article
ความหมายของคำว่า Kiting และ Lapping article
แนวทางการปฏิบัติงานของ ผู้สอบบัญชีภาษีอากร ( TA ) article
ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีนำเข้าบริการ และส่งออกบริการ article
วิธีการบันทึกบัญชีในการลดทุน ไปล้างขาดทุนสะสม article
คำแนะนำในการเลือกทนายความ article
ตัวอย่าง แบบฟอร์มใบสมัครงาน article
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ article
กฎหมายแพ่งในชีวิตประจำวัน article
ประกันวินาศภัย กับ ประกันชีวิต article
อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ article
การหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาตามวิธี Initial Method article
การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน ที่ได้สิทธิพิเศษ article
กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี