ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี ปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี สำนักงานบัญชี,สำนักงานสอบบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,ตรวจสอบบัญชี,รับทำบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,จดทะเบียนธุรกิจ,ว่าความ,ผู้สอบบัญชี,สมุทรปราการ,ภาษี,กฏหมาย,แนวการสอบบัญชี,ธุรกิจเอสเอ็มอี
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


ปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
ปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี

 

1.

สํานักงานให้บริการรับทําบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลจะต้องจัดใหมีหลักประกันเพื่อประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม อยากทราบว่ามีหลักเกณฑ์อย่างไร

 

แนวคำตอบ

            ตามมาตรา 11 แห่ง พ...วิชาชีพบัญชี กระทรวงพาณิชยมีหน้าที่ออกกฎกระทรวงเพื่อกําหนด ประเภท จํานวน หลักเกณฑ และวิธีการของการจัดให้มีหลักประกัน โดยให้คํานึงถึงขนาดและรายได้ของนิติบุคคลและให้นําความเห็นของหนวยงานวิชาชีพบัญชีและสภาวิชาชีพบัญชีมาประกอบการพิจารณาขณะนี้กระทรวงพาณิชย์กําลังพิจารณายกร่างกฎกระทรวงดังกล่าวอยู

2.

สํานักงานให้บริการรับทําบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลมีภาระหน้าที่และความรับผิดตาม พ... วิชาชีพบัญชีอย่างไร

 

แนวคำตอบ

            ต้องจดทะเบียนต่อสภาวิชาชีพบัญชี (ตาม มาตรา 11)ต้องจัดให้มีหลักประกันเพื่อประกันความรับผิดต่อบุคคลที่สาม (ดูคําถามข้อที่ 1)หากบริการด้านการสอบบัญชีนิติบุคคลนั้นจะต้องรับผิดร่วมกับผู้สอบบัญชีที่เซ็นรับรองงบการเงิน

3.

สํานักงานให้บริการรับทําบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีซึ่งไม่มีสภาพเป็นนิติบุคคลมีภาระหน้าที่และความรับผิดตามพ...วิชาชีพบัญชีอย่างไร

 

แนวคำตอบ

            กฎหมายไม่ได้กําหนดภาระหน้าที่และความรับผิดไว้เป็นกรณีพิเศษ

4.

เป็นสมาชิกสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยประเภทสมาชิกตลอดชีพ สมาคมฯมีแผนที่จะโอนสมาชิกภาพมาสังกัดที่สภาวิชาชีพบัญชีหรือไม

 

แนวคำตอบ

            สภาวิชาชีพบัญชีเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ดังนั้นในด้านกฎหมายสมาคมฯไม่สามารถโอนสมาชิกภาพของท่านไปสังกัดกับสภาวิชาชีพบัญชีได อย่างไรก็ตามท่านยังคงมีสิทธิหน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิกของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยอยู่เช่นเดิมทุกประการตามข้อบังคับของสภาฯ ที่ได้ร่างไว้ได้เปิดโอกาสให้มีการงดเก็บค่าบํารุงจากสมาชิกสมาคมฯ หากได้มีการเลิกสมาคมฯ

5.

ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกคนจะต้องเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีหรือไม

 

แนวคำตอบ

            ไม่จําเป็นยกเว้นสองกรณีคือ (1) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตซึ่งได้รับใบอนุญาตที่ออกตามพ.ร.บ.วิชาชีพบัญชีนี้ และ (2) ผู้ทําบัญชีตามกฎหมายบัญชีเท่านั้นที่จะต้องเป็นสมาชิกของสภาฯตามบทบัญญัติของกฎหมาย

6.

อยู่ต่างจังหวัดจะสมัครเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีได้อย่างไรจึงจะสะดวกที่สุด

 

แนวคำตอบ

            ขอรับใบสมัครเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีได้จากสํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าประจําจังหวัดทุกแห่ง หรือจากสาขาของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยกรอกใบสมัครโอนเงินค่าบํารุงเข้าบัญชีธนาคารของสภาวิชาชีพบัญชี หรือ ซื้อธนาณัติไปรษณียหรือ แคชเชียรเช็ค ตามรายละเอียดที่ระบุในคําชี้แจงแนบท้ายใบสมัครส่งใบสมัคร เอกสารประกอบการสมัคร รวมทั้งเอกสารการชําระค่าบํารุงตามข้อ 3 ข้างต้นมายังสภาวิชาชีพบัญชีทางไปรษณียโดยท่านไม่จําเป็นต้องเดินทางมาด้วยตนเอง

7.

อยู่ในกรุงเทพฯจะสมัครเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีได้อย่างไรจึงจะสะดวกที่สุด

 

แนวคำตอบ

            ขอรับใบสมัครเป็นสมาชิกได้จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (นนทบุรี) หรือจากสภาวิชาชีพบัญชี (สามเสน) หรือดาวน์โหลดใบสมัครจากเว็บไซตของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย www.icaat.or.th ก็ได้กรอกใบสมัคร

8.

สภาวิชาชีพบัญชีประกอบด้วยสมาชิกซึ่งประกอบวิชาชีพบัญชีต่างๆ รวมหกด้านด้วยกัน ตอนที่ผมสมัครเป็นสมาชิกของสภาฯ จําเป็นต้องเลือกเป็นสมาชิกสังกัดด้านใดด้านหนึ่งด้วยหรือไม

 

แนวคำตอบ

            ไม่ต้อง เพราะกฎหมายไม่ได้กําหนดให้สมาชิกต้องเลือกเป็นสมาชิกสังกัดด้านใดด้านหนึ่งการที่กฎหมายกําหนดให้วิชาชีพบัญชีประกอบด้วยวิชาชีพบัญชีหกด้านนั้นเพื่อใหสภาวิชาชีพบัญชีมีความหลากหลายในด้านวิชาชีพ พร้อมกับเปิดโอกาสให้วิชาชีพบัญชีแต่ละด้านนั้นมีตัวแทน (ประธานคณะกรรมการวิชาชีพบัญชีด้านต่างๆ) อยู่ในคณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชี เพื่อยกระดับวิชาชีพด้านนั้นและด้านอื่นให้เจริญก้าวหน้าร่วมกัน

9.

ในกรณีที่ผมจ่ายค่าบํารุงสมัครเป็นรายสามปี หรือ รายห้าปี สภาวิชาชีพบัญชีจะมีส่วนลดให้หรือไม

 

แนวคำตอบ

            ไม่มี (การที่อนุญาตให้สมาชิกจ่ายค่าบํารุง เป็นรายสามปี หรือ รายห้าปได้นั้นมีวัตถุประ-สงค์เพียงเพื่ออํานวยความสะดวกให้กับสมาชิกที่ไม่ต้องการจ่ายชําระค่าบํารุงทุกๆป)

10.

สภาวิชาชีพบัญชีตั้งอยู่ที่ไหน

 

แนวคำตอบ

            ปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีมีที่ทําการชั่วคราวตั้งอยู่ที่สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย เลขที่ 441/1 ถนนสามเสน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพ 10300

11.

จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการบัญชี สามารถสมัครเป็นสมาชิกประเภทสมทบไดหรือไมเพราะทราบว่าอัตราค่าบํารุงสมาชิกประเภทสมทบถูกกว่าสมาชิกสามัญ

 

แนวคำตอบ

            ไม่ได้ท่านสามารถสมัครเป็นสมาชิกประเภทสามัญเท่านั้น เฉพาะผูที่จบการศึกษาในระดับ ปวส. (ด้านการบัญชี) ระดับอนุปริญญา หรือ ผู้ที่กําลังศึกษาอยูในระดับปริญญาตรีทางการบัญชีเท่านั้นจึงจะสามารถสมัครเป็นสมาชิกประเภทสมทบได

12.

ทําไมค่าธรรรมเนียมใบอนุญาตสอบบัญชีจึงแพงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมาก เดิมจ่ายให้  ก.บช. เพียง 200 บาทต่อห้าป ตอนนี้ต้องจ่ายให้สภาวิชาชีพบัญชีปละ 1,000 บาท

 

แนวคำตอบ

            สภาวิชาชีพบัญชีเป็นองค์กรวิชาชีพอิสระไมมีงบประมาณสบับสนุนจากภาครัฐ (ต่างจากสํานักงาน ก.บช. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระทรวงพาณิชย)ดังนั้นเพื่อใหสภาวิชาชีพบัญชีสามารถดําเนินงานไดตามวัตถุประสงคของการจัดตั้งสภาจึงจําเป็นต้องจัดหารายไดในจํานวนที่เพียงพอต่อการบริหารงาน ด้วยเหตุนี้สภาจึงมีความจําเป็นที่ต้องกําหนดค่าธรรมเนียมใบอนุญาตผู้สอบบัญชีให้สูงขึ้นกว่าเดิมเพื่อใหสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายดําเนินงานที่จะเกิดขึ้น

13.

เป็นผู้สอบบัญชีอยู่แล้ว ใบอนุญาตผู้สอบบัญชีที่ออกโดย ก.บช.จะหมดอายุลงในวันที่

30 กันยายน 2548  ต้องปฏิบัติตนอย่างไร

 

แนวคำตอบ

ท่านสามารถปฏิบัติงานสอบบัญชีได้ต่อไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2548 โดยยังไม่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชีนี้อย่างไรก็ตาม ภายในเวลาสามเดือนก่อนวันที่ใบอนุญาตสอบบัญชีเดิมของท่านจะหมดอายุ ท่านจะต้องดําเนินการขอรับใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีใหมจากสภาวิชาชีพบัญชี และเริ่มเสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตามพ.ร.บ.วิชาชีพบัญชีตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นไปในระหว่างที่ใบอนุญาตเดิมของท่านยังไม่หมดอายุนี้ ท่านจะเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีหรือไม่ก็ได

14.

ทําไมสภาวิชาชีพบัญชีไม่อนุญาตใหชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตผู้สอบบัญชีเป็นรายสามปี หรือรายห้าปเหมือนค่าบํารุงสมาชิกบ้าง

 

แนวคำตอบ

            ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อนี้ สภาฯเห็นว่าควรออกข้อบังคับกําหนดใหผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

ชําระค่าธรรมเนียมในลักษณะปีต่อปไปพลางๆ ก่อน หากคณะกรรมสภาวิชาชีพบัญชีชุดเลือกตั้งเห็นว่าสมควรแก้ไขให้เป็นอย่างอื่นก็สามารถดําเนินการไดตามขบวนที่กําหนดในกฎหมาย ดังนั้นจึงเป็นไปไดที่ในอนาคตผู้สอบบัญชีสามารถชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเป็นรายสามปหรือรายห้าปีได

15.

ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี ใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตไม่มีอายุ แต่ทําไมต้องจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตทุกปีด้วย

 

แนวคำตอบ

            ถึงแม้ใบอนุญาตผู้สอบบัญชีจะมีอายุไม่จํากัด แต่กฎหมายอนุญาตให้สภาฯจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเป็นรายปีได ทั้งนี้เพื่อนําเงินที่ได้ไปใช้ในการบริหารงานของสภา ฯ

16.

กฎหมายบังคับให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต้องเป็นสมาชิกของสภาฯด้วย ดังนั้นนอกจากจะต้องชําระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแล้ว ผู้สอบบัญชียังจะต้อง

ชําระค่าบํารุงสมาชิกอีกด้วย เข้าใจถูกหรือไม

 

แนวคำตอบ

            ท่านเข้าใจถูกต้องแล้ว เว้นแต่ผู้สอบบัญชีซึ่งใบอนุญาตเดิม (ที่ออกโดย ก.บช.) ยังไม่หมดอายุกฎหมายยอมให้ผู้นั้นใชใบอนุญาตเดิมได้ต่อไปจนกว่าใบอนุญาตนั้นจะหมดอายุ และในช่วงที่ใบอนุญาตยังไม่หมดอายุลงนี้ผู้สอบบัญชีนั้นจะเป็นสมาชิกสภาหรือไม่ก็ได

17.

ตามมาตรา 43 แห่ง พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตมีหน้าที่เข้ารับการ ฝึกอบรมหรือเข้าร่วมการสัมนา (CPD) ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สภาฯกําหนด อยากทราบว่าสภาฯได้ออกหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องนี้แล้วหรือยัง

 

แนวคำตอบ

            สภาฯกําลังอยู่ในระหว่างการยกร่างข้อบังคับเกี่ยวกับเรื่องนี้

18.

กําลังอยู่ระหว่างการฝกหัดงานสอบบัญชีธุรกิจ และยังสอบผ่านไมครบทุกวิชา จะไดรับผลกระทบจาก พ... วิชาชีพบัญชีหรือไม

 

แนวคำตอบ

            ไม่ไดรับผลกระทบ สิทธิหน้าที่ของท่านในด้านการฝึกหัดงานสอบบัญชีการรายงาน การทดสอบความรูรวมทั้งการสะสมผลการทดสอบของแต่ละวิชาที่สอบผ่านยังคงเป็นเช่นเดิม เพราะกฎข้อบังคับภายใต้ พรบ.ผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505 ให้ถือว่ามีผลต่อไปจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงภายใต้พรบ.ใหม่นี้

19.

ขณะนี้เป็นผูทําบัญชีตาม พ... การบัญชี (.. 2543 ) และได้แจ้งการเป็นผู้ทําบัญชีไว้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว ทําไมดิฉันต้องมาขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพบัญชีอีก

 

แนวคำตอบ

            การแจ้งการเป็นผู้ทําบัญชีกับกรมพัฒนาธุรกิจเป็นขบวนการที่กําหนดในพ... การบัญชี (.. 2543) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใหแน่ใจว่าผู้ทําบัญชีมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กํ าหนดในกฎหมายฉบับดังกล่าว ในขณะที่การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีกับสภาวิชาชีพบัญชีนี้เป็นขบวนการที่กําหนดใน พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพทําบัญชีปฏิบัติหน้าที่เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพที่ดีภายใต้กลุ่มชนที่ใหญ่ขึ้น

20.

ผู้ทําบัญชีทุกคนจะต้องเป็นสมาชิกสภาฯ หรือ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีกับสภาฯ ใชหรือไม

 

แนวคำตอบ

            ไม่ใชเฉพาะผู้ทําบัญชีผูซึ่งมีคุณสมบัติตาม พ.ร.บ. การบัญชี (พ.ศ.2543) เท่านั้นจึงจะต้องสมาชิกสภาฯ หรือ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีกับสภาฯและนักบัญชีทุกท่านก็สามารถสมัครเป็นสมาชิกไดเพราะเพิ่มศักดิ์ศรีของตนเอง และของสถาบัน

21.

เป็นผู้ทําบัญชีแต่ไม่อยากเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชี จะจ่ายค่าขึ้นทะเบียนผู้ทําบัญชีได้อย่างไร

 

แนวคำตอบ

            หากท่านเป็นผู้ทําบัญชีซึ่งได้แจ้งการเป็นผู้ทําบัญชีไว้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว สภาฯจะรับขึ้นทะเบียนเป็นผูทําบัญชีให้กับท่านโดย อัตโนมัติโดยมิต้องเสียธรรมเนียม แต่การขึ้นทะเบียนนี้มีผลจนถึงสิ้นปนี้ (31 ธันวาคม 2547)เท่านั้นด้วยเหตุนี้ท่านจะต้องยื่นคําขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีสําหรับปีถัดไป (ปี 2548) กับสภาวิชาชีพบัญชีพร้อมทั้งการชําระค่าธรรมเนียมภายในเดือนมีนาคม 2548 โดยท่านสามารถขอแบบคําขอไดที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าประจําจังหวัด สภาวิชาชีพบัญชี หรือ สาขาของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยไดทุกแห่ง ขบวนการชําระค่าขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีเหมือนกับขบวนการชําระค่าบํารุงสมาชิกทุกประการ

22.

ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชีบัญชี ผู้ทํ าบัญชีจะต้องเป็นสมาชิกสภาฯ หรือ ขึ้นทะเบียน

เป็นผู้ทําบัญชีกับสภาฯควรเลือกวิธีใดดีครับ

 

แนวคำตอบ

            ตามกฎหมายท่านสามารถเลือกวิธีใดก็ไดแต่เนื่องจากสภาฯจัดเก็บค่าบํารุงสมาชิกและค่าขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทําบัญชีในอัตราเท่ากัน การสมัครเป็นสมาชิกสภาน่าจะเป็นประโยชนต่ท่านมากกว่า เนื่องจากท่านจะได้รับสิทธิในการเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชีตามที่กําหนดในมาตรา 16 เช่น  สิทธิในการเข้าร่วมประชุมสภาฯ สิทธิในการออกเสียงลงคะแนน และสิทธิในการสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการสภาฯ เป็นต้น

23.

การเลือกตั้งคณะกรรมการสภาวิชาชีพชุดแรก จะมีขึ้นเมื่อใด

 

แนวคำตอบ

            ไม่เกินวันที่ 20 เมษายน 2548 (มาตรา 74 กําหนดให้มีการเลือกตั้งภายใน 180 วัน

นับจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับ) ขณะนี้กำหนดแล้วคือวันที่ 3 เมษายน 2548

ที่มาของข้อมูล : สภาวิชาชีพบัญชี







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี