ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี ปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี สำนักงานบัญชี,สำนักงานสอบบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,รับตรวจสอบบัญชี รับทำบัญชี จดทะเบียนธุรกิจ กฏหมาย ว่าความ
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ใช้ 1 มกราคม 2554 - 31 ธันวาคม 2566)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม)
bulletคำชี้แจงประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


ปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

 

1.

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.. 2543  คือใครบ้าง

 

แนวคำตอบ  

  • ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
  • บริษัทจำกัด
  • บริษัทมหาชนจำกัด
  • นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
  • กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
  • บุคคลธรรมดา  ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนที่ประกอบธุรกิจผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก เทปเพลง  ซีดี  วีดีโอ

 

2.

สาขาที่ต้องทำบัญชีแยกออกจากสำนักงานใหญ่ต้องเข้าเงื่อนไขอะไรบ้าง  และถ้ากรณีดังต่อไปนี้สาขาต้องทำบัญชีแยกหรือไม่

กรณีที่ 1           สาขาเป็นโกดังเก็บสินค้า  ไม่มีการเปิดใบกำกับภาษีขาย มีเพียง ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ และเงินเดือนพนักงานบางคน

กรณีที่ 2 สาขาเป็นเพียงสถานที่ผลิตสินค้า  (ในกรณีเป็นโรงงานผลิตสินค้าเพื่อขาย) หรือเป็นเพียงสถานที่พิมพ์งาน (ในกรณีเป็นโรงพิมพ์) แล้วส่งให้สำนักงานใหญ่ เป็นผู้เปิดใบกำกับภาษี-ขาย (ในกรณีขายสินค้า)  หรือเป็นผู้เปิดใบกำกับภาษีค่ารับจ้างพิมพ์ (ในกรณีเป็นโรงพิมพ์)

 

แนวคำตอบ

            กรณีสาขาที่ต้องทำบัญชีแยกจากสำนักงานใหญ่ ต้องพิจารณาให้เข้าเงื่อนไข ทั้ง 3 ข้อ ดังต่อไปนี้

  1. มีสถานประกอบการที่ตั้งประจำแยกออกไปจากสำนักงานใหญ่
  2. ต้องมีพนักงานประจำ

 

3.

บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่ไม่ได้จดทะเบียน  จำเป็นต้องทำบัญชีด้วยหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            ขึ้นอยู่กับว่าเป็นธุรกิจที่มีประกาศของกระทรวงพาณิชย์กำหนดให้ต้องจัดทำบัญชีหรือไม่  ในขณะนี้มีประกาศกระทรวงพาณิชย์  เรื่องกำหนดให้บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2544  กำหนดให้บุคคลธรรมดาหรือห้างหุ้นส่วนที่มิได้จดทะเบียนที่ประกอบธุรกิจผลิตจำหน่าย นำเข้า ส่งออก  เทปเพลง ซีดี  วีดีโอต้องทำบัญชีสินค้าตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม  2544  เป็นต้นไป  หากไม่ได้ทำธุรกิจนี้ก็ไม่ต้องจัดทำบัญชี

 

4.

ในกรณีที่บริษัทต่างประเทศเข้ามาเปิดสำนักงานผู้แทนในประเทศไทยโดยเข้ามาวิจัยตรวจสอบตลาดและไม่มีรายได้  จะต้องจัดทำงบการเงินส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้าหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            จะต้องจัดทำงบการเงินส่งต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า  เนื่องจากเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศจึงเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี  .. 2543

 

ความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

  1. การจัดหาผู้ทำบัญชี

5.

ในกรณีบริษัทไม่มีรายรับ  ปลายปีจึงหาผู้ทำบัญชีเพื่อส่งงบดุล  จะแจ้งเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี อย่างไร

 

แนวคำตอบ

            บริษัทไม่ต้องแจ้งชื่อผู้ทำบัญชีเป็นการล่วงหน้าต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า  แต่ใน ตอนยื่นงบการเงินเมื่อสิ้นรอบปีบัญชีต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า  บริษัทต้องระบุชื่อผู้ทำบัญชีของบริษัทใน  แบบ ส.บช.3 ส่วนผู้ทำบัญชีของบริษัทต้องแจ้งการเป็นผู้ทำบัญชี ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ทำบัญชีโดยใช้แบบ ส.บช. 5  จำนวน  2 ชุด(ต่างจังหวัดใช้ 3 ชุด)  พร้อมทั้งแนบหลักฐานประกอบ  ดังนี้

  1. สำเนาทะเบียนบ้าน
  2. สำเนาบัตรประชาชน
  3. สำเนาปริญญาบัตรหรือสำเนาใบรับรองผลการศึกษาตลอดหลักสูตร ( Transcript)
  4. รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวก  ถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 2 รูป (ต่างจังหวัดใช้ 3 รูป)
  5. สำเนาใบเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล (ถ้ามี)  โดยแจ้งที่ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า  จังหวัดนนทบุรี  11000 สำหรับต่างจังหวัดสามารถแจ้งได้ที่สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดนั้นๆ

 

  1. การจัดทำบัญชี

6.

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชีต้องเริ่มทำบัญชีเมื่อใด

 

แนวคำตอบ  

  • ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน  บริษัทจำกัด  บริษัทมหาชนจำกัดต้องจัดทำบัญชีนับแต่วันที่จดทะเบียน
  • กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากรเริ่มทำเมื่อประกอบกิจการ
  • นิติบุคคลต่างประเทศ  เริ่มทำเมื่อเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทย

 

7.

บริษัทบันทึกรายการรับและจ่ายโดยใช้ระบบใบสำคัญโดยไม่มีการลงรายการที่เกิดขึ้นในบัญชีรายวันต่างๆ ตามที่กำหนดและมีการผ่านรายการจากใบสำคัญไปบัญชีแยกประเภท จะถือว่าเข้าเงื่อนไขบัญชีที่ต้องจัดทำครบถ้วนหรือไม่

 

แนวคำตอบ  

            ไม่เข้าเงื่อนไข   กิจการจะต้องจัดทำบัญชีรายวันตามที่กฎหมายกำหนด

 

8.

กิจการลงรายการในบัญชีเป็นภาษาต่างประเทศโดยมีภาษาไทยกำกับ  กิจการต้องขอนุมัติต่ออธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าก่อนหรือสามารถทำได้เลย

 

แนวคำตอบ   

            ไม่ต้องขออนุมัติ

 

9.

บริษัทลงรายการในบัญชีเป็นรหัสบัญชี  และมีคำแปลรหัสบัญชีเป็นภาษาอังกฤษซึ่งถือว่าเป็นภาษากลางแล้ว  ไม่ทราบว่าใช้ได้หรือไม่และจำเป็นต้องจัดทำและนำส่งคำแปลรหัสบัญชีที่เป็นภาษาไทยต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอีกหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            บริษัทต้องจัดทำคำแปลรหัสบัญชีเป็นภาษาไทยไว้ด้วยโดยไม่จำเป็นต้องนำส่งต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

 

10.

บริษัทจัดทำบัญชีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการลงบัญชี  สมุดรายวันต่างๆที่จัดพิมพ์โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกต้องครบถ้วนตาม พ... การบัญชีหรือไม่  

 

แนวคำตอบ

            ถ้ามีข้อความและรายการครบตามที่กฎหมายกำหนด  ก็ถือว่าเป็นไปตามที่พระราชบัญญัติกำหนดแล้ว

 

11.

ตามที่กฎหมายบัญชีกำหนดว่าต้องมีการทำบัญชีรายวัน 5 เล่ม  บริษัทจัดทำบัญชีโดยคอมพิวเตอร์ บัญชีทุกอย่างจะต้องทำในรายวันทั่วไปเพียงอย่างเดียวแล้วจะ post ไปแยกประเภทเป็นแต่ละรายการ กรณีนี้จะถือว่าจัดทำบัญชีรายวันเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            กรณีนี้ถือว่าได้จัดทำเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว

 

12.

เอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชี ตามประกาศกรมทะเบียนการค้า เรื่อง กำหนดชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี ระยะเวลาที่ต้องลงรายการใน บัญชี และเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี ในหัวข้อเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี - เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก กรณีเอกสารนั้นเป็นหลักฐานในการรับชำระ รับฝาก รับเงิน หรือตั๋วเงิน และข้อ 10() ระบุว่าเอกสารนั้นจะต้องมีลายมือชื่อของผู้รับเงินหรือตั๋วเงิน เว้นแต่เอกสารที่จัดทำและส่งมอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมืออื่นที่ได้ผลในทำนองเดียวกัน  ต้องการทราบตัวอย่างของกรณีดังกล่าวและถ้ากิจการรับชำระโดยหักบัญชีเงินฝากธนาคารลูกค้า และมีระบบคอมพิวเตอร์ออกใบเสร็จรับเงิน พร้อมกับมีระบบในการคัดแยกและจัดทำเป็นจดหมายพร้อมส่งให้   ลูกค้าทางไปรษณีย์ ในกรณีนี้เข้าข่ายหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            กรณีที่ถือว่าเป็นเอกสารในการรับชำระ รับฝาก รับเงินหรือตั๋วเงินที่จัดทำ  และส่งมอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจไม่ต้องมีลายมือชื่อของผู้รับเงินหรือตั๋วเงิน เช่นการออกใบเสร็จรับเงินซึ่งจัดทำโดยระบบคอมพิวเตอร์และสั่งพิมพ์  จากสำนักงานใหญ่ไปยังสาขาเพื่อส่งมอบให้แก่ลูกค้าที่สาขาในสภาพเดียวกับที่ออกและสั่งพิมพ์ที่สำนักงานใหญ่  เป็นต้น   สำหรับกรณีของท่านเป็นเพียงการจัดพิมพ์ใบเสร็จรับเงินด้วยคอมพิวเตอร์แล้วจึงจัดส่งให้ลูกค้าทางไปรษณีย์  ดังนั้น  ใบเสร็จรับเงินดังกล่าวต้องมีลายมือชื่อของผู้รับเงินจึงจะถือว่าเป็นเอกสารที่สมบูรณ์

 

  1. การปิดบัญชีและการนำส่งงบการเงิน

 

13.

การยื่นงบการเงินของบริษัทมหาชนจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย  ให้ยื่นภายใน 1 เดือน  นับแต่วันที่งบการเงินนั้นได้รับอนุมัติในที่ประชุมใหญ่  หากมีการประชุมใหญ่วันที่ 31 มีนาคม  จะต้องยื่นงบการเงินภายในวันที่ใด

 

แนวคำตอบ

            ภายในวันที่  30  เมษายน

 

14.

บริษัทที่จดทะเบียนในระหว่างปี  เช่น 20 มิถุนายน จะต้องปิดบัญชีเพื่อจัดทำงบการเงินงวดแรกเมื่อไร

 

แนวคำตอบ

            ให้พิจารณาจากข้อบังคับของบริษัทว่ามีการกำหนดให้ปิดบัญชีเมื่อใดก็ต้องปิดบัญชีให้เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท  เว้นแต่ในข้อบังคับไม่ได้กำหนดไว้  บริษัทจะเลือกปิดบัญชีเมื่อใดก็ได้แต่ต้องไม่เกิน12 เดือนนับจากวันที่จดทะเบียน  และการปิดบัญชีคราวต่อไปให้ปิดในวันเดียวกันกับรอบแรกและต้องปิดบัญชีทุกรอบ 12 เดือน

 

15.

หากต้องการเปลี่ยนรอบบัญชีจะต้องขออนุญาตหรือไม่ มีวิธีการขออนุญาตอย่างไร  ที่ไหน

 

แนวคำตอบ

1.   ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีประสงค์จะขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีจะต้องขออนุญาตต่อสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี  ในการขออนุญาตต้องจัดเตรียมเอกสาร  ดังนี้

1.1.   แบบคำขออนุญาต( .บช. 4) จำนวน 1 ชุด

1.2.   สำเนาหลักฐานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี

§         สำเนาหนังสือรับรองรายการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กรณีเป็นนิติบุคคล

§     สำเนาทะเบียนพาณิชย์ กรณีเป็นนิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย หรือบุคคลธรรมดา

§         สำเนาการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร กรณีเป็นกิจการร่วมค้า

1.3.   สำเนาหนังสือของกรมสรรพากรที่อนุญาตให้เปลี่ยนรอบปีบัญชี (ถ้ามี)

1.4.   สำเนารายงานการประชุมผู้ถือหุ้นที่อนุมัติให้เปลี่ยนรอบปีบัญชี

1.5.  สำเนารายงานการประชุมจัดตั้งบริษัท หรือสำเนาข้อบังคับของบริษัท อย่างใดอย่างหนึ่ง (ถ้ามี)

1.6.   สำเนาแบบนำส่งงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน (.บช. 3) ครั้งสุดท้ายก่อนการขออนุญาต

1.7.  หนังสือมอบอำนาจที่ติดอาการครบถ้วนพร้อมสำเนาบัตรประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (กรณีผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลมอบหมายให้ผู้อื่นทำการแทน)

ทั้งนี้ สำเนาเอกสารประกอบคำขออนุญาตทุกฉบับจะต้องลงลายมือชื่อรับรองสำเนาโดยผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลพร้อมประทับตราสำคัญ(ถ้ามี) หรือโดยผู้รับมอบอำนาจแล้วแต่กรณี 

กรณีบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่มีข้อบังคับระบุเรื่องรอบปีบัญชีให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีพร้อมกับการขอจดทะเบียนข้อบังคับ โดยยื่นต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท

2.      สถานที่ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชี

2.1.  กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานบัญชีประจำท้องที่กรุงเทพมหานครหรือยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชีสำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

2.2.  กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่จังหวัดอื่นให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานประจำท้องที่จังหวัด ณ สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดที่นิติบุคคลดังกล่าวตั้งอยู่หรือจะยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชี  สำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีจะเปลี่ยนรอบปีบัญชีได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชีแล้วจึงจะเปลี่ยนรอบปีบัญชีได้ ซึ่งในทางปฏิบัติเมื่อสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชีอนุญาตแล้วจะมีหนังสือแจ้งให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร

 

16.

นิติบุคคลที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดให้งบการเงินได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้แก่นิติบุคคลประเภทใด

 

แนวคำตอบ

            ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาทสินทรัพย์รวมไม่เกิน 30  ล้านบาทและรายได้รวมไม่เกิน  30  ล้านบาท  แต่ยังต้องส่งงบการเงินให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้าตามกำหนดคือภายใน 5 เดือนนับแต่วันปิดบัญชี  ส่วนงบการเงินที่ส่งกรมสรรพากรยังต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีภาษีอากร( TAX  AUDITOR )

 

  1. การเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี

 

17.

ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีตาม พ... การบัญชี ต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้

ประกอบการลงบัญชีไว้ ณ สถานที่ใด และเก็บรักษาไว้นานเท่าใด

 

แนวคำตอบ

  • สถานที่
    • สถานที่ทำการ
    • สถานที่ทำการผลิต
    • สถานที่เก็บสินค้า
    • สถานที่ทำงานเป็นประจำ
  • ระยะเวลา

      ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันปิดบัญชีและเมื่อเก็บไว้ครบ 5 ปี  หากจะไม่จัดเก็บต่อไปก็ไม่ต้องขออนุญาตต่อสารวัตรบัญชี  แต่ควรพิจารณากฎหมายอื่นที่ธุรกิจเข้าไปเกี่ยวข้องอยู่ว่ามีกฎเกณฑ์ใดที่กำหนดให้เก็บนานกว่ากฎหมายบัญชีหรือไม่  หากมีต้องคำนึงถึงกฎหมายนั้นๆ ด้วย

 

18.

บัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี  ที่เก็บไว้เกิน 5 ปี สามารถทำลายได้เลย  หรือต้องขออนุญาตก่อนที่จะทำลาย

 

แนวคำตอบ

            สามารถทำลายได้เลยโดยไม่ต้องขออนุญาต

 

19.

บัญชีและเอกสารเก่าที่เก็บมาครบ  5 ปีหรือนานกว่านั้น ยังต้องขออนุญาตในการจัดเก็บไว้นอกสถานประกอบกิจการด้วยหรือไม่  และถ้าจะทำลายต้องขออนุญาตหรือไม่

 

แนวคำตอบ

            ไม่ต้องขออนุญาต  หากเก็บไว้ครบ 5 ปี แล้ว

 

20.

จัดเก็บเอกสารในรูปอื่นได้หรือไม่  สถานที่จัดเก็บเอกสารไม่เพียงพอเป็นไปได้หรือไม่  จะจัดเก็บในรูปmicrofilm หรือจัดเก็บเอกสารในรูปอื่น

 

แนวคำตอบ

            ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ..2543 มาตรา 13 อนุญาตให้จัดทำบัญชี  ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ดังนั้น  หากการจัดเก็บข้อมูลการลงรายการในบัญชีด้วยสื่ออื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการจัดทำบัญชีด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ บริษัทฯสามารถเก็บรักษาบัญชีในลักษณะดังกล่าวได้  โดยไม่ต้องขออนุญาต  และถ้าหากสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชีเรียกบัญชีมาตรวจสอบ  บริษัทฯ  ไม่สามารถนำบัญชีมาให้ตรวจสอบ  และไม่สามารถพิสูจน์ให้เชื่อได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังรอบคอบตามสมควรแก่กรณี แล้ว เพื่อป้องกันมิให้บัญชีสูญหายหรือเสียหายตามมาตรา 16 จะถือว่าบริษัทฯ มีเจตนาทำให้บัญชีสูญหายหรือเสียหาย ซึ่งมีโทษตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ..2543 สำหรับการเก็บรักษาเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีด้วยสื่ออิเลคทรอนิค  ในขณะนี้ยังไม่สามารถกระทำได้

 

21.

อยากทราบว่าหากกิจการจะนำบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไปไว้ที่อื่น  จะต้องขออนุญาตหรือไม่ และหากต้องขออนุญาตต้องดำเนินการอย่างไร

 

แนวคำตอบ

            จะต้องขออนุญาตจัดเก็บบัญชีและเอกสารไว้ ณ สถานที่อื่น ต่อสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบัญชี   โดยใช้แบบ  .บช.1 และแนบเอกสารหลักฐานประกอบคำขออนุญาต ดังนี้

1.      สำเนาหลักฐานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีและผู้ให้ความยินยอมใช้สถานที่  ดังนี้

§         สำเนาหนังสือรับรองรายการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลกรณีเป็นนิติบุคคล

§     สำเนาทะเบียนพาณิชย์   กรณีเป็นนิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย  หรือบุคคลธรรมดา

§         สำเนาการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร  กรณีเป็นกิจการร่วมค้า

2.      เอกสารสำคัญแสดงสิทธิการใช้สถานที่

§     สำเนาสัญญาเช่าสถานที่  กรณีใช้บริการของธุรกิจรับฝากเก็บบัญชีฯ  (บริการคลังสินค้า)

§     สำเนาทะเบียนบ้าน  โฉนดที่ดิน  สัญญาเช่า  สัญญาซื้อ/ขายที่ดิน  กรณีธุรกิจเป็นเจ้าของสถานที่ที่นำบัญชีไปเก็บ

§     หนังสือให้ความยินยอมใช้สถานที่  กรณีสถานที่นำบัญชีฯ ไปจัดเก็บ  เป็นของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ  (เป็นกรรมการ , ผู้ถือหุ้น) หรือเป็นสำนักงานบริการรับทำบัญชี

3.      แผนที่โดยสังเขปและภาพถ่ายของสถานที่ที่ขออนุญาตนำบัญชีและเอกสารฯไปจัดเก็บไว้

4.   หนังสือมอบอำนาจที่ติดอากรครบถ้วนพร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้มอบอำนาจ  กรณีผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลมอบหมายให้ผู้อื่นทำการแทน

สำเนาเอกสารประกอบคำขออนุญาตทุกฉบับจะต้องลงลายมือชื่อรับรองสำเนาโดยผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลพร้อมประทับตราสำคัญ(ถ้ามี)  หรือโดยผู้รับมอบอำนาจแล้วแต่กรณี

กรณีนิติบุคคลขออนุญาตเก็บรักษาบัญชีฯ  ไว้ที่อื่นโดยมีสัญญา  หรือการให้ความยินยอมมีกำหนดเวลา  เมื่อครบกำหนดเวลาดังกล่าว  จะต้องยื่นคำขออนุญาตพร้อมแนบหลักฐานใหม่ทั้งหมด  ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสัญญาเพิ่มเติมหรือต่อท้ายต้องแนบมาพร้อมการยื่นแบบคำขอด้วย

 

สถานที่ยื่นคำขออนุญาต

1.   กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร  ให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานบัญชี  ประจำท้องที่กรุงเทพมหานครหรือยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชี  สำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

2.   กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่จังหวัดอื่นให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานประจำท้องที่จังหวัด ณ สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดที่

นิติบุคคลดังกล่าวตั้งอยู่หรือจะยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชี สำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

 

  1. ปัญหาอื่นๆ

 

22.

บริษัทได้จ้างให้สำนักงานบัญชีจัดทำบัญชีให้  โดยได้จัดส่งเอกสารต่างที่ใช้ในการลงบัญชีทั้งหมดให้กับสำนักงานรับทำบัญชี  แต่สำนักงานไม่ได้จัดทำบัญชีให้จึงไปขอเอกสารคืนเพื่อให้คนอื่นทำบัญชีให้แต่ได้รับเอกสารคืนไม่ครบถ้วน  เมื่อทวงถามทางสำนักงานบัญชีก็จะบอกว่าทางบริษัทส่งให้เท่าที่คืนไป (ตอนส่งเอกสารให้กันไม่ได้ทำหลักฐานว่าส่งอะไรบ้าง)  บริษัทจะทำอย่างไร

 

แนวคำตอบ

            ในการจัดส่งเอกสารเพื่อให้สำนักงานบัญชีหรือผู้ทำบัญชีอิสระทำบัญชีให้ควรที่การทำหลักฐานการส่งมอบเอกสารให้กันเพื่อป้องกันข้อโต้เถียง ซึ่งในกรณีนี้  หากไม่สามารถหาเอกสารที่สูญหายไปได้  บริษัทควรแจ้งเอกสารสูญหายต่อสารวัตรบัญชีภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบหรือควรทราบถึงการสูญหาย  โดยยื่นแบบแจ้งบัญชีหรือเอกสารประกอบการลงบัญชีสูญหายหรือเสียหายตามแบบ ส.บช. 2 กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครให้ยื่นแบบ ส.บช. 2 จำนวน 2 ชุด และเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่จังหวัดอื่นให้ยื่นแบบ ส.บช. 2 จำนวน 3 ชุด  พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานประกอบ ดังนี้

1.      สำเนาหลักฐานของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ดังนี้

§         สำเนาหนังสือรับรองรายการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล กรณีเป็นนิติบุคคล

§     สำเนาทะเบียนพาณิชย์ กรณีเป็นนิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย หรือบุคคลธรรมดา

§         สำเนาการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร กรณีเป็นกิจการร่วมค้า

2.      ภาพถ่ายสถานที่เกิดเหตุ

3.      หลักฐานที่แสดงได้ว่ามีการสูญหาย ( ใบแจ้งความ)

4.   หนังสือมอบอำนาจที่ติดอากรครบถ้วนพร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ กรณีผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลมอบหมายให้ผู้อื่นทำการแทน

สำเนาเอกสารประกอบคำขออนุญาตทุกฉบับจะต้องลงลายมือชื่อรับรองสำเนาโดยผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคลพร้อมประทับตราสำคัญ  (ถ้ามี) หรือโดยผู้รับมอบอำนาจแล้วแต่กรณี

 

สถานที่ยื่นคำขออนุญาต

1.   กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร  ให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานบัญชีประจำท้องที่กรุงเทพมหานครหรือยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชี  สำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

2.   กรณีเป็นนิติบุคคลที่มีสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่จังหวัดอื่นให้ยื่นคำขออนุญาตเปลี่ยนรอบปีบัญชีต่อสารวัตรบัญชีประจำสำนักงานประจำท้องที่จังหวัด ณ สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดที่นิติบุคคลดังกล่าวตั้งอยู่หรือจะยื่นต่อสารวัตรใหญ่บัญชี สำนักงานกลางบัญชี ณ สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

 

ที่มาของข้อมูล : สภาวิชาชีพบัญชี







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี