ตรวจสอบบัญชี,ทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,สำนักงานตรวจสอบบัญชี,สอบบัญชี สมาคมการค้า
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
ติดต่อเรา/Contact us
dot
bulletติดต่อเรา/Contact us
dot
บริการของสำนักงาน
dot
bulletตรวจสอบบัญชี
bulletบริการทาง บัญชี ภาษี
bulletจดทะเบียนบริษัท
bulletบริการด้านกฏหมาย
bulletบริการยื่นแบบและนำส่งภาษี
dot
บริการตรวจค้นข้อมูลธุรกิจ
dot
bulletตรวจค้นข้อมูลจดทะเบียนธุรกิจ
bulletตรวจค้นข้อมูลงบการเงิน
bulletรายชื่อผู้ทำบัญชี
bulletรายชื่อผู้สอบบัญชี ( CPA )
bulletรายชื่อผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี - กรมสรรพากร (TA)
bulletชื่อผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล
bulletผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีแจ้งชื่อห้างฯที่ตรวจสอบ
bulletชื่อผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletงบการเงินบริษัทจดทะเบียน
bulletปฏิทินภาษี
bulletอัตราแลกเปลี่ยนธนาคารแห่งประเทศไทย
bulletดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ทุกธนาคาร
dot
บริการคลังข้อมูลบัญชี
dot
bulletระบบค้นหาข้อมูลผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 13 หลัก
bulletจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
bulletจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
bulletยื่นแบบชำระภาษีออนไลน์
bulletหน่วยบริการภาษีใน กรุงเทพฯ
bulletตรวจค้นข้อมูลขอคืนภาษี ภงด.90,91
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานทำบัญชีของผู้ทำบัญชี
bulletแจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี CPA
bulletยื่นแบบ บภ.แจ้งเพิ่ม ลด งานสอบบัญชี TA
bulletตรวจค้นหลักสูตร CPD ของผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletแบบฟอร์มเอกสารต่างๆของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletแบบฟอร์มเอกสารสภาวิชาชีพบัญชี
bulletเครื่องมือช่วยในการสอบบัญชี (Audit Tools) ของสภาวิชาชีพบัญชี
bulletแบบฟอร์มภาษีกรมสรรพากร
bulletแบบฟอร์มประกันสังคม
bulletแบบฟอร์มจดทะเบียนของกรมพัฒน์ฯ(DBD)
bulletรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
bulletความหมายของรายการย่อในงบการเงิน
bulletศัพท์บัญชี ไทย-อังกฤษ
bulletศัพท์บัญชี อังกฤษ-ไทย
bulletคำถามบัญชี/สอบบัญชีที่พบบ่อย
bulletความแตกต่างระหว่าง CPA และ TA
bulletคุณวุฒิการศึกษาทางการบัญชีที่สภาวิชาชีพรับรอง
dot
กฏหมายทั่วไป และ ภาษีอากร
dot
bulletความรู้เรื่องภาษี-ภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร
bulletข้อหารือภาษีอากร
bulletแบบฟอร์มสัญญาต่างๆทางกฏหมาย
bulletแบบฟอร์มศาล/แบบพิมพ์ศาล
bulletรวมประมวลกฏหมาย
bulletความผิดอาญา ที่ยอมความได้
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (1)
bulletคลีนิกกฏหมาย จาก หนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ (2)
bulletรู้ทันภัยใกล้ตัว จาก หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (1)
dot
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
dot
bulletข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีและผู้สอบบัญชี
bulletกำหนดการทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
bulletเส้นทางการเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CPA
bulletTA เปิดรับสมัครสอบปีละ 3 ครั้ง
bulletประกาศผลสอบ CPA
bulletข้อสังเกตจากคณะกรรมการผู้ตรวจข้อสอบของ TA โดยสรุป
bulletข้อสังเกตุจากอนุกรรมการผู้ตรวจข้อสอบ CPA โดยสรุป (จากสภาวิชาชีพ)
bulletUpdate มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ และร่างการตีความ จากสภาวิชาชีพบัญชี
bulletขอบเขตรายวิชาที่ต้องเข้ารับการทดสอบ เป็นผู้สอบบัญชี (CPA)
dot
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการทำบัญชี(ข้อมูลจากสภาวิชาชีพบัญชี)
dot
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับผู้ทำบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ
bulletปัญหาเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงิน
bulletปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
bulletปัญหาเกี่ยวกับการรายงานการสอบบัญชี
bulletคำถามที่พบบ่อย : บัญชีธุรกิจ และ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
bulletประเด็นคำถาม-คำตอบที่เป็นประโยชน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletคำถามที่ถูกถามบ่อย จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletประเด็นคําถาม - คําตอบ เกี่ยวกับการทำบัญชีและสอบบัญชี ของ กองกำกับบัญชีธุรกิจ
dot
ตัวอย่าง แนวการสอบบัญชี โดยย่อ
dot
bulletเงินสดและเงินฝากธนาคาร
bulletลูกหนี้การค้า
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
bulletสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
bulletสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
bulletเงินลงทุน
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น
bulletเงินกู้ยืม
bulletส่วนของผู้ถือหุ้น
bulletรายได้
bulletซื้อสินค้า
bulletต้นทุนขาย
bulletค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
bulletการรับเงิน แนวการรับเงิน
bulletการจ่ายเงิน แนวการจ่ายเงิน
bulletแนวการสอบบัญชี เงินเดือน
bulletการจัดทำแนวทางการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)
dot
มรรยาท (จรรยาบรรณ) ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
dot
bulletมรรยาท (จรรยาบรรณ) ของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต(เดิม)
bulletจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (ออกใหม่ปี 53)
bulletคำชี้แจงจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้สอบบัญชี
bulletคำชี้แจงข้อบังคับจรรยาบรรณ สำหรับผู้ทำบัญชี
bulletจรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชี ภาษีอากร
bulletความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
dot
ตัวอย่างรายงานการสอบบัญชี (บางส่วน)
dot
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บังคับ 31 ธ.ค 65 เป็นต้นไป
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ(์NPAEs)
bulletตัวอย่างรายงานผู้สอบบัญชีงบเลิกกิจการ ณ วันจดทะเบียนเลิกกิจการ
bulletรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ TA (ท.ป.194/2555)
bulletตัวอย่างรายงานของผู้สอบบัญชีสำหรับกองทุนรวม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
bulletรายงานของมูลนิธิและสมาคม
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2544 ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ยกเลิกแล้วในปี 2551-ไม่ใช้แล้ว)
dot
bulletงบการเงิน ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletงบการเงิน บริษัทจำกัด
bulletงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด
bulletงบการเงิน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletงบการเงิน กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2551 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (เริ่มใช้ 1 มกราคม 2552 ถึง 31 ธันวาคม 2553)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletประเด็นคำถาม – คำตอบประกาศกรม เรื่อง รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ.2554 ตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ใช้ 1 มกราคม 2554 - 31 ธันวาคม 2566)
dot
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด (ยกเลิกปี 2562)
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด เริ่มใช้ 1 มค 63
dot
กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) เริ่มใช้ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป) ล่าสุด
dot
bulletประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม)
bulletคำชี้แจงประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566
bulletรูปแบบรายการย่อ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ บริษัทมหาชนจำกัด
bulletรูปแบบรายการย่อ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฏหมายต่างประเทศ
bulletรูปแบบรายการย่อ กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
dot
ตัวอย่างการจดทะเบียนธุรกิจ
dot
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน/จำกัด
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนพาณิชย์ (ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)
bulletตัวอย่างการจดทะเบียนบริษัทมหาชนจำกัด
dot
ตัวอย่าง การควบคุมภายใน โดยย่อ
dot
bulletการควบคุมภายใน การรับเงิน
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินสดย่อย
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเช็ค
bulletการควบคุมภายใน การจ่ายเงินเดือนและค่าแรง
bulletการควบคุมภายใน การขาย
bulletการควบคุมภายใน การซื้อ
bulletการควบคุมภายใน ลูกหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน เจ้าหนี้การค้า
bulletการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ
bulletการควบคุมภายใน สินทรัพย์ถาวร
dot
ตัวอย่าง กระดาษทำการ ตรวจสอบบัญชี (working paper)
dot
bulletเงินสด เงินฝากธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี
bulletกระดาษทำการ ตรวจนับเงินสดย่อย
bulletทดสอบความถูกต้องการรับเงิน
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการจ่ายเงิน
bulletกระดาษทำการ เงินลงทุน
bulletลูกหนี้การค้า (1)
bulletลูกหนี้การค้า (2)
bulletสินค้าคงเหลือ
bulletการตรวจตัดยอดขาย
bulletการตรวจตัดยอดซื้อ
bulletสินทรัพย์ถาวร (1)
bulletทรัพย์สินถาวร (2)
bulletทรัพย์สินถาวร (3)
bulletสินทรัพย์อื่น
bulletเงินกู้ยืม 1
bulletเงินกู้ยืม 2
bulletเจ้าหนี้การค้า
bulletหนี้สินหมุนเวียนอื่น+ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
bulletทุน
bulletกำไรสะสม
bulletรายได้และค่าใช้จ่าย
bulletรายได้
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการขาย
bulletการทดสอบความถูกต้องของรายการซื้อ
bulletวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
dot
Links ในเมืองไทยที่น่าสนใจ
dot
bulletข่าวและหนังสือพิมพ์
bulletเว็บยอดฮิต
bulletหน่วยงานราชการ
bulletองค์กรต่างๆ
bulletหน่ายงานกฏหมายและศาล
bulletเว็บไซด์พื้นฐาน
bulletวารสาร สรรพากรสาส์น
bulletกรมสรรพากร
bulletกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
bulletสภาวิชาชีพบัญชี
bulletสภาทนายความ
bulletสำนักงานประกันสังคม
bulletกระทรวงแรงงาน
bulletศาลภาษีอากรกลาง
bulletตรวจหวย ( ตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาล)
bulletรวมเวบไซด์ หางาน สมัครงาน
bulletรวมเวบไซด์ เกมส์ออนไลน์
bulletสารบัญเว็บไทย
dot
Webboard
dot
bulletWebboard
bulletเวบไซด์การเดินทาง


www.google.co.th
www.sanook.com
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
สภาวิชาชีพบัญชี
กรมสรรพากร
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
สภาทนายความ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ


สมาคมการค้า article

 

สมาคมการค้า

การจดทะเบียนสมาคมการค้า

1. ตัวอย่างการจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมการค้า
2. ตัวอย่างการจัดส่งทะเบียนสมาชิก
3. ตัวอย่างการร่างข้อบังคับ
4. ตัวอย่างการจดทะเบียนตั้งหรือเปลี่ยนตัวกรรมการ
5. ตัวอย่างการจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ
6. ตัวอย่างการจดทะเบียนเลิกสมาคมการค้า
7. ตัวอย่างการเปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชี
8. ตัวอย่างการจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชี
9. รายชื่อสมาคมการค้าทั่วประเทศ

 

ลักษณะของสมาคมการค้า

         สมาคมการค้า คือ สถาบันที่บุคคลหลายคนซึ่งเป็นผู้ประกอบธุรกิจทางการค้าหรือ อุตสาหกรรม หรือการเงิน หรือทางการประมง หรือทางเกษตรกรรม หรือธุรกิจอื่นใดในทางเศรษฐกิจร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อทำการส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจ อันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน การจัดตั้งสมาคมการค้า มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้

1. ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งอย่างน้อย 3 คน ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาและเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจประเภทเดียวกัน หรือ วิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกัน ร่วมกันจัดตั้งสมาคมการค้า โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภทเดียวกันนั้น

2.ผู้เริ่มก่อการ กรอกแบบคำขออนุญาตจัดตั้งสมาคมการค้า (ส.ห.1) ให้ครบถ้วน พร้อมทั้งแนบ เอกสารประกอบดังต่อไปนี้

         2.1 รายการขออนุญาตและจดทะเบียน (แบบ ส.ห.2) 
         2.2 หนังสือรับรองความประพฤติของผู้เริ่มก่อการจัดตั้ง (แบบ ส.ห.3)
         2.3 ข้อบังคับ
         2.4 หลักฐานการเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจของผู้เริ่มก่อการจัดตั้ง
         2.5 สำเนาหนังสือแสดงสิทธิการใช้สถานที่จัดตั้ง
         2.6 แผนที่แสดงที่ตั้งโดยสังเขปพร้อมรูปถ่าย
         2.7 หนังสือมอบอำนาจ

ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งยื่นคำขออนุญาตและเอกสารประกอบจำนวน1 ชุด โดยผู้เริ่มก่อการทุกคนต้อง
ลงลายมือชื่อต่อหน้านายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ยื่นคำขอ (1) หรือ (2)
 
3.เมื่อตรวจสอบคำขอและเอกสารประกอบแล้วถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดนายทะเบียนจะสั่งอนุญาตและออกใบอนุญาตพร้อมทั้งจดทะเบียนสมาคมการค้า 4. สมาคมการค้าที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งเป็นสมาคมการค้า จะมีฐานะเป็นนิติบุคคลและมีสิทธิ และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามที่พระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ.2509 กำหนดไว้ โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะได้ดำเนินการเพื่อลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป
 
สถานที่ยื่นคำขอ
            การยื่นคำขออนุญาตและจดทะเบียนสมาคมการค้า ผู้ขอจดทะเบียนจะต้องยื่นต่อนายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ดังต่อไปนี้ 
           (1) กรณีสำนักงานของสมาคมการค้าตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ต่อนายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ส่วนจดทะเบียนสมาคมการค้าและหอการค้า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ถนนนนทบุรี  ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
 
           (2) กรณีสำนักงานของสมาคมการค้า ตั้งอยู่ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดในจังหวัดที่สำนักงานของสมาคมการค้าตั้งอยู่ 

ค่าธรรมเนียม 
การขออนุญาตจัดตั้งและจดทะเบียนสมาคมการค้า ผู้ขอจดทะเบียนต้องชำระค่าธรรมเนียมตามอัตราดังต่อไปนี้
 
           (1) ใบอนุญาตสมาคมการค้า ฉบับละ 400 บาท
           (2) การจดทะเบียนแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อบังคับ ครั้งละ 5 บาท 
           (3) การจดทะเบียนตั้งหรือเปลี่ยนตัวกรรมการ ครั้งละ 5 บาท 

หน้าที่ของสมาคมการค้า

           สมาคมการค้า ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ. 2509 ดังนี้
1. จัดทำทะเบียนสมาชิกเก็บรักษาไว้ที่สำนักงานของสมาคมการค้าและให้ส่งสำเนาทะเบียนสมาชิกนั้นแก่นายทะเบียน ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาต และ เมื่อมีการรับสมาชิกใหม่หรือมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับทะเบียนสมาชิก ให้ส่งสำเนาทะเบียนสมาชิกที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงแล้วให้แก่ นายทะเบียน ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่รับสมาชิกใหม่หรือมีการเปลี่ยนแปลง
 
2. จัดประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการชุดแรก เพื่อเป็นผู้ดำเนินกิจการและเป็นผู้แทนของสมาคมการค้าในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก และเมื่อเลือกตั้งคณะกรรมการแล้ว จะต้องนำไปยื่นจดทะเบียนต่อนายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลือกตั้ง
 
3. การแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อบังคับจะต้องนำไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ประชุมใหญ่ลงมติให้แก้ไข
 
4. การเลือกตั้งหรือเปลี่ยนตัวกรรมการจะต้องนำไปจดทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วันตั้งหรือเปลี่ยนตัวกรรมการ
 
5. จัดทำงบดุลอย่างน้อยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือนซึ่งจัดว่าเป็นรอบปีในทางบัญชี และให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วนำเสนอเพื่ออนุมัติต่อที่ประชุมใหญ่ภายใน 120 วัน นับแต่วันที่สิ้นปีการบัญชี
 
6. จัดทำรายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินกิจการเสนอต่อที่ประชุมใหญ่ในคราวที่เสนองบดุล และให้ส่งสำเนารายงานกับงบดุลไปยังนายทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีการประชุมใหญ่
 
7. การเลิกสมาคมการค้าจะต้องแจ้งให้นายทะเบียนทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เกิดมีเหตุที่ทำให้เลิก ในกรณีดังต่อไปนี้
 
                  (1) มีข้อบังคับกำหนดให้เลิกในกรณีใดและเมื่อมีกรณีนั้น 
                  (2) ตั้งโดยมีกำหนดเวลาและ เมื่อสิ้นเวลานั้น
                  (3) เมื่อที่ประชุมใหญ่ลงมติให้เลิก
                  (4) เมื่อล้มละลาย
 
8. สมาคมการค้าใดไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไป และขาดการติดต่อกับสำนักงานทะเบียนสมาคมการค้าเกิน 2 ปี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์อาจใช้ดุลยพินิจให้เลิกสมาคมการค้าได้
9. การยื่นจดทะเบียนหรือจัดส่งเอกสารต่าง ๆ ตามที่กล่าวข้างต้น จะต้องกระทำตามกำหนดโดยเคร่งครัด มิฉะนั้นจะมีความผิด และต้องระวางโทษตามที่กฎหมายกำหนด

รายการขออนุญาต การขอจดทะเบียน หรือการแจ้งและเอกสารประกอบ
1. การขออนุญาตและจดทะเบียนจัดตั้ง 
                  - คำขอ : แบบ ส.ห.1
                  - เอกสารประกอบรายการ : ข้อ 2.1-2.7
 
2. การจดทะเบียนแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อบังคับ
                - คำขอ : แบบ ส.ห.1
                - ข้อบังคับที่ขอแก้ไข 
                - สำเนารายงานการประชุมใหญ่ครั้งที่มีมติ
                - สำเนาหนังสือแสดงสิทธิการใช้สถานที่ตั้งสำนักงาน(กรณีแก้ไขที่ตั้งสำนักงาน)
                - แผนที่แสดงที่ตั้งโดยสังเขปพร้อมรูปถ่าย (กรณีแก้ไขที่ตั้งสำนักงาน)
                - ใบอนุญาตฉบับเดิม (กรณีแก้ไขชื่อสมาคมการค้า)
                - สำเนาบัตรประจำตัวของผู้ขอจดทะเบียน
                - หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
 
3. การจดทะเบียนตั้งหรือเปลี่ยนตัวกรรมการ
                - คำขอ : แบบ ส.ห.1
                - หนังสือรับรองความประพฤติของกรรมการ แบบ ส.ห.3 (กรณีใช้มติที่ประชุมคณะกรรมการ)
                - หนังสือรับรองประวัติกรรมการ แบบ ส.ห.6
                - รายชื่อคณะกรรมการ แบบ ส.ห.7
                - สำเนารายงานการประชุมใหญ่/คณะกรรมการครั้งที่มีมติ
                - สำเนาบัตรประจำตัวของผู้ขอจดทะเบียน
                - หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
 
4. การแจ้งเลิก/เปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชี
                - คำขอ : แบบ ส.ห.1
                - รายการแจ้งเลิก/เปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชี แบบ ส.ห.8
                - สำเนารายงานการประชุมใหญ่ครั้งที่มีมติ
                - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ขอจดทะเบียน
                - หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
 
5. การแจ้งเสร็จการชำระบัญชี
                - รายการแจ้งเสร็จการชำระบัญชี: แบบ ส.ห.10
                - รายงานการชำระบัญชี : แบบ ส.ห.9
                - สำเนาบัตรประจำตัวของผู้ชำระบัญชี
                - หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
 
6. การแจ้งทะเบียนสมาชิก
                 - หนังสือนำส่ง
                 - แบบ ส.ห.11

      
**หมายเหตุ **
1. แบบพิมพ์ต่างๆ ไปที่ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
2. การกรอกข้อความในแบบพิมพ์คำขอจดทะเบียนและเอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนให้พิมพ์ ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์

 

 

การเสียภาษีเงินได้ของมูลนิธิหรือสมาคม

 

มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบการมีรายได้ หากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มิได้ประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร มีหน้าที่ต้องนำรายได้ที่ได้รับก่อนหักรายจ่ายใดๆ มารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้มูลนิธิหรือสมาคม ตามแบบ ภ.ง.ด.55 ภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

1. รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคมที่จะต้องเสียภาษีเงินได้

รายได้ที่จะต้องเสียภาษีเงินได้ของมูลนิธิหรือสมาคม ได้แก่ รายได้จากการ ประกอบกิจการ เช่น ค่าเช่า รายได้จากการจำหน่ายสินค้าและบริการ และรายได้จากทุน เช่น ดอกเบี้ย และเงินปันผล เป็นต้น

มูลนิธิหรือสมาคมจะต้องนำรายได้ดังกล่าวมาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามอัตรา ที่กฎหมายกำหนด โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น

2. รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

มูลนิธิหรือสมาคมที่ไม่ได้รับการประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร จะได้รับยกเว้นไม่ต้องนำรายได้ดังต่อไปนี้มาคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่

1. ค่าลงทะเบียนหรือค่าบำรุงที่ได้จากสมาชิก

2. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค

3. เงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการให้โดยเสน่หา

4. เงินได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนของมูลนิธิหรือสมาคม ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน แต่ไม่รวมถึงเงินได้จากการขายของ การรับจ้างทำของ หรือการให้บริการอื่นใดที่โรงเรียนเอกชนซึ่งเป็นโรงเรียนประเภทอาชีวศึกษาได้รับจากผู้ซึ่งมิใช่นักเรียน

 

อัตราภาษีและการคำนวณภาษี

 

มูลนิธิหรือสมาคมซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจะต้องเสียภาษีจากยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายในอัตรา ดังนี้

(ก) เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)-(7) แห่งประมวลรัษฎากร เช่น เงินได้จากดอกเบี้ย เงินปันผล ค่าเช่า ค่าสิทธิ ค่านายหน้า เป็นต้น เสียภาษีในอัตราร้อยละ 10.0

(ข) เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งได้แก่เงินได้จากธุรกิจการพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่น ๆ นอกเหนือจาก(ก) เสียภาษีในอัตราร้อยละ 2 .0

การคำนวณภาษี

เมื่อมูลนิธิหรือสมาคมมีรายได้จากการประกอบกิจการจะต้องนำรายได้ ซึ่งไม่ได้รับยกเว้นมาคำนวณภาษี โดยคำนวณจากรายได้ก่อนหักรายจ่าย คูณด้วยอัตราภาษีร้อยละ 10.0 หรือร้อยละ 2.0 แล้วแต่กรณี ผลที่ได้เป็นภาษีที่ต้องเสีย

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลของมูลนิธิหรือสมาคม จะต้องคำนวณตามรอบระยะเวลาบัญชีเช่นเดียวกับ “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล”

ตัวอย่างการคำนวณภาษี

สมาคม ก. มีรายได้จากการประกอบกิจการ และไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในปี 2555 สมาคมมีรายได้ ดังนี้

 

 

(1) ค่าลงทะเบียน

50,000

บาท

(2) เงินที่ได้รับจากการบริจาค

120,000

บาท

(3) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

10,000

บาท

(4) รายได้จากค่านายหน้า

20,000

บาท

(5) รายได้จากการขายหนังสือ

10,000

บาท

(6) รายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินของสมาคม

20,000

บาท

(7) รายได้จากการจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม

60,000

บาท

การคำนวณภาษี

 

(1) ค่าลงทะเบียน และ

(2) เงินที่ได้รับจากการบริจาคได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาเสียภาษีเงินได้

(3) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

อัตราภาษี 10%

(10,000x10%)

=

1,000

บาท

(4) ค่านายหน้า

อัตราภาษี 10%

(20,000x10%)

=

2,000

บาท

(5) ค่าจำหน่ายหนังสือ

อัตราภาษี 2%

(10,000x2%)

=

200

บาท

(6) ค่าเช่าทรัพย์สิน

อัตราภาษี 10%

(20,000x10%)

=

2,000

บาท

(7) ค่าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม

อัตราภาษี 2%

(60,000x2%)

=

1,200

บาท

รวมภาษีที่ต้องเสีย

 

6,400

บาท


 

 

มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับการยกเว้นภาษี

 

มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับการยกเว้นภาษี มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ไม่ว่าจะมีรายได้จากกิจการประเภทใด และผู้บริจาคได้รับสิทธิ ดังนี้

 

  1. บุคคลธรรมดาบริจาคเงินให้กับมูลนิธิหรือสมาคม มีสิทธินำเงินบริจาคมาหักเป็นค่าลดหย่อนได้ไม่เกินร้อยละ 10 ในการคำนวณเงินได้สุทธิ
  2. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้กับมูลนิธิหรือสมาคมมีสิทธินำเงินหรือทรัพย์สินที่บริจาคในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของกำไรสุทธิ มาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
  3. ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ประเภทขายสินค้า นำสินค้าไปบริจาคให้กับมูลนิธิหรือสมาคม ผู้ประกอบกิจการได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม จึงไม่ต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากมูลนิธิหรือสมาคม

รวบรวมโดย จรัส อินทร์คง

ที่มา : กรมพัฒนาธุกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และ กรมสรรพากร

 




ความรู้เกี่ยวกับบัญชี

ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินปี พ.ศ. 2566 article
คำชี้แจงประกาศกรมกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2566 (ฉบับเต็ม) article
สรุปความแตกต่าง ที่สำคัญของหลักการทางบัญชีกับกฎหมายภาษี สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ลูกหนี้
หลักเกณฑ์ และวิธีการนำส่งงบการเงิน และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น อัตราค่าปรับยื่นงบล่าช้าปี 2563 เป็นต้นไป article
ประกาศกรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นงบการเงิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2549 article
อัตราค่าปรับ กรณีไม่ยื่นงบการเงินหรือยื่นล่าช้า ถึงปี 2555 article
การยื่นแบบคำขอใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล(BOI) article
สิทธิในการได้รับ ค่าชดเชย เมื่อถูกเลิกจ้าง article
สรุปมาตรฐานการบัญชี และการจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ article
รายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินและความหมาย article
นิติบุคล มีหน้าที่ที่จะต้องปฎิบัติตามกฎหมายและพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 ดังต่อไปนี้ article
ประกันสังคม การขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา 39 article
บัญชีสำหรับกิจการอุตสาหกรรม
Foreign Business Act B.E. 2542 (1999)
Accounting Act, B.E. 2543 (2000)
การโอนกิจการ และ การควบกิจการ
เงินปันผล และ เงินส่วนแบ่งกำไร พร้อม หลักการบัญชี
ตารางสรุป ภาระภาษี การควบหรือโอนกิจการ
งบกระแสเงินสด การจัดทำงบกระแสเงินสด
การปรับปรุงรายการทางบัญชี และ การแก้ไขข้อผิดพลาด
การวิเคราะห์งบการเงิน
ความแตกต่างระหว่าง บัญชีการเงิน กับ บัญชีบริหาร ความแตกต่างระหว่างบัญชีบริหาร กับ บัญชีต้นทุน
ประโยชน์ของการจัดทำบัญชี
พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 , พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี 2547 - ภาษาไทย
ACCOUNTING PROFESSIONS ACT, B.E. 2547 (2004)
ปัญหาเกี่ยวกับเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีและปัญหาเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
บริษัท สำนักงานจรัสทนายความและการบัญชี จำกัด เลขที่ 334 หมู่ที่ 9 ซอยสำโรงเหนือ 21 ถนนสุขุมวิท 113 ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์ 081-802-2731 , 02-349-4238 โทรสาร 02-349-4239 Email :jarat_inkong@yahoo.com Website : http://www.jarataccountingandlaw.com ผู้ให้การสนับสนุน จัดทำเว็บ ออกแบบเว็บ โปรโมทเว็บ เว็บดีไซน์ เว็บโฮสติ้ง by Tismarketing.com รวมเวบไซต์:
Enter Songtoday.com and Vote for this site !!!
http://www.marinerthai.com/topsite/ http://www.media4stream.com/topsites/ ท่องเที่ยว 76 จังหวัด video clip,คลิปหลุดดารา,blog,บล็อก โปรโมทเว็บ software download เขียนบล็อก สถานที่ท่องเที่ยว ทิปดีดี อาชีพเสริม ท่องเที่ยวไทย สมุนไพร โปรโมทสินค้าฟรี Celebrity Biography free software thailand travel Thailand hotels Online shopping and reviews world movie submit articles Travel Classifieds amazon compare prices web directory free wallpaper add site Electronic specifications โพสสุขสันต์ ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี