สรุปความแตกต่าง ที่สำคัญของหลักการทางบัญชีกับกฎหมายภาษี สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ลูกหนี้ สรุปความแตกต่าง ที่สำคัญของหลักการทางบัญชีกับกฎหมายภาษี สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ลูกหนี้
เกี่ยวกับลูกหนี้
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
คำนิยาม
ลูกหนี้ หมายถึง สิทธิที่กิจการจะได้รับเงินสดหรือทรัพยากรหรือ
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจอื่น ๆ เมื่อถึงกำหนดชำระลูกหนี้อาจรวมถึง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ๆ
ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการขายสินค้าหรือการ ให้บริการที่กิจการได้ส่งใบแจ้งหนี้หรือได้ตกลงอย่างเป็นทางการกับ ผู้ซื้อ รายการดังกล่าวนี้อาจอยู่ในรูปของตั๋วเงินรับ
ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ใช่ลูกหนี้การค้า เช่น ลูกหนี้และ เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมอื่น เป็นต้น
|
คำนิยาม
ประมวลรัษฎากรไม่ได้กำหนดนิยามไว้
|
|
1. การบันทึกบัญชีลูกหนี้
1.1 ลูกหนี้การค้า
|
|
1. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีลูกหนี้
1.1 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีลูกหนี้การค้า
บริษัทขายสินค้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อเป็นจำนวนเงิน
100,000 บาท
เดบิต ลูกหนี้การค้า 100,000
เครดิต รายได้ค่าสินค้า/บริการ 100,000
|
1.2 ลูกหนี้อื่น
|
|
1.2 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีลูกหนี้อื่น
บริษัทให้กรรมการกู้ยืมเงินเป็นจำนวนเงิน 50,000 บาท
เดบิต เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ 50,000
เครดิต เงินฝากธนาคาร 50,000
การบันทึกบัญชีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นจะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชี
กับภาษีอากร
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
2. การตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญ
|
2. การตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญ
|
2. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีการตั้งหนี้สงสัยจะสูญ
|
วิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสูญสามารถทำได้ 3 วิธี ได้แก่
|
ประมวลรัษฎากรไม่ได้กำหนดเรื่องการตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญ
|
บริษัทได้ทำการประมาณการสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้
|
วิธีอัตราร้อยละของยอดขายเชื่อสุทธิ วิธีอัตราร้อยละของลูกหนี้
|
ดังนั้น ค่าใช้จ่ายจากการประมาณการหนี้สงสัยจะสูญไม่สามารถ
|
การค้า โดยใช้หลักวิธีอัตราร้อยละของลูกหนี้ที่ค้างชำระจำแนกตาม
|
ที่ค้างชำระจำแนกตามอายุของลูกหนี้ และวิธีพิจารณาลูกหนี้เป็น
|
นำมาถือเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตาม
|
อายุของลูกหนี้ (สามารถใช้วิธีอื่นได้ตามความเหมาะสมของกิจการ)
|
แต่ละราย โดยกิจการต้องรับรู้จำนวนหนี้สงสัยจะสูญเป็นค่าใช้จ่าย
|
มาตรา 65 ตรี (1)
|
ได้จำนวนหนี้สงสัยจะสูญเป็นมูลค่า 10,000,000 บาท
|
ในงบกำไรขาดทุน
|
เดบิต หนี้สงสัยจะสูญ 10,000,000
|
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000,000
|
เนื่องจากการประมาณการหนี้สงสัยจะสูญไม่สามารถนำมาถือเป็น
|
รายจ่ายทางภาษีได้ ตอนจัดทำกระดาษทำการในการคำนวณภาษี
|
เงินได้นิติบุคคล ต้องนำหนี้สงสัยจะสูญมาบวกกลับในกำไรทางบัญชี
|
ก่อนคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลดังนี้
|
กำไรทางบัญชี 20,000,000 บาท
|
(บวก) หนี้สงสัยจะสูญ 10,000,000 บาท
|
กำไรทางภาษี 30,000,000 บาท
|
3. การตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
3. การตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
3. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีการตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
หากลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้เมื่อครบกำหนดแล้ว และกิจการได้มี
|
ประมวลรัษฎากรตามมาตรา 65 ทวิ (9) การตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
3.1 การบันทึกบัญชีการตัดจำหน่ายหนี้สูญใน ก ร ณ ี ดำเนิน นินนการก
|
การดำเนินการทวงถามหนี้จากลูกหนี้จนถึงที่สุดแล้ว และคาดหมายได้
|
สามารถหักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้เมื่อมีการดำเนินการตาม
|
การต า ม ห ล ั ก เ ก ณ ฑ์ ที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534)
|
ค่อนข้างแน่นอนว่าจะไม่ได้รับชำระหนี้ ให้กิจการจำหน่ายลูกหนี้
|
หลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534) ออก
|
(เป็นรายจ่ายทางภาษี)
|
ออกจากบัญชี และปรับลดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)
|
ตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการจำหน่ายหนี้สูญจาก
|
จากข้อมูลข้างต้น (ตัวอย่างที่ 2) บริษัททำการตั้งหนี้สงสัย
|
บัญชีลูกหนี้
|
จะสูญเป็นมูลค่า 10,000,000 บาทไว้แล้ว และคาดหมายว่าจะมี
|
ลูกหนี้รายหนึ่งไม่สามารถชำระคืนได้อย่างแน่นอนเป็นจำนวนเงิน
|
1,000,000 บาท บริษัทสามารถตัดจำหน่ายหนี้สูญได้ทันที
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
ซึ่งมีเนื้อหาสำคัญ ดังนี้
|
เดบิต หนี้สูญ 1,000,000
|
ข้อ 1. หนี้สูญที่จะจำหน่ายจากบัญชีลูกหนี้ต้องเป็นหนี้ที่มีลักษณะ
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
ดังต่อไปนี้
|
และกลับรายการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
(1) ต้องเป็นหนี้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการ
|
เดบิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
ประกอบกิจการ หรือหนี้ที่ได้รวมเป็นเงินได้ในการคำนวณกำไรสุทธิ
|
เครดิต หนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
ทั้งนี้ ไม่รวมหนี้ที่ผู้เป็น หรือเคยเป็นกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ
|
สามารถใช้สิทธิการตัดหนี้สูญโดยนำมาเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ในปีนั้น
|
เป็นลูกหนี้ ไม่ว่าหนี้นั้นจะเกิดขึ้นก่อนหรือในขณะที่ผู้นั้นเป็น
|
(หากได้ปฏิบัติตามเกณฑ์ทางภาษี) โดยหักออกจากกำไรทางบัญชีก่อน
|
กรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ
|
คำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนี้
|
(2) ต้องเป็นหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความและมีหลักฐานโดย
|
กำไรทางบัญชี 5,000,000 บาท
|
ชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้
|
(หัก) ตัดจำหน่ายหนี้สูญ 1,000,000 บาท
|
ข้อ 2. การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้
|
กำไรทางภาษี 4,000,000 บาท
|
ข้อ 2.1 ในกรณีหนี้ของลูกหนี้แต่ละรายมีจำนวนเกิน
|
3.1.2 กรณีไม่ตั้งค่าเผื่อหนี้สูญ
|
2,000,000 บาทขึ้นไป และมีลักษณะตามข้อ 1. ต้องดำเนินการ
|
บริษัทสามารถตัดจำหน่ายหนี้สูญได้ทันที
|
ดังต่อไปนี้
|
เดบิต หนี้สูญ 1,000,000
|
(1) ให้ติดตามทวงถามให้ชำระหนี้ตามสมควรแก่กรณี
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
โดยมีหลักฐานการติดตามทวงถามอย่างชัดแจ้งและไม่ได้รับชำระหนี้
|
ตัดจำหน่ายหนี้สูญกรณีนี้จะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชีกับภาษีอากร
|
โดยปรากฏว่า
|
(หากเป็นรอบบัญชีเดียวกัน)
|
(ก) ลูกหนี้ถึงแก่ความตาย เป็นคนสาบสูญ หรือมี
|
3.2 การบันทึกบัญชีการตัดจำหน่ายหนี้สูญใน กรณีไม่ดำเนินการ
|
หลักฐานว่าหายสาบสูญไป และไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระหนี้ได้
|
ต า ม ห ล ั ก เ ก ณ ฑ์ ที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534)
|
หรือ
|
(ไม่เป็นรายจ่ายทางภาษี)
|
(ข) ลูกหนี้เลิกกิจการ และมีหนี้ของเจ้าหนี้รายอื่นมี
|
บุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้อยู่ในลำดับก่อนเป็น
|
จำนวนมากกว่าทรัพย์สินของลูกหน
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
(2) ได้ดำเนินการฟ้องลูกหนี้ในคดีแพ่งหรือได้ยื่นคำขอ
|
3.2.1 กรณีตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
เฉลี่ยหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดีแพ่ง โดยมีหมาย
|
เดบิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
บังคับคดีของศาลแล้วและมีรายงานการบังคับคดีครั้งแรกของ
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
เจ้าพนักงานบังคับคดีอันสามารถแสดงได้ว่ามีการดำเนินการบังคับ
|
ตัดจำหน่ายหนี้สูญกรณีนี้ จะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชีกับภาษีอากร
|
คดีแล้วแต่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินใดจะชำระหนี้ได้
|
3.2.2 กรณีไม่ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
(3) ได้ดำเนินการฟ้องลูกหนี้ในคดีล้มละลายหรือได้
|
บริษัทสามารถตัดจำหน่ายหนี้สูญได้ทันที
|
ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดี
|
เดบิต หนี้สูญ 1,000,000
|
ล้มละลาย หรือในคดีที่ผู้ชำระบัญชีร้องขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
เป็นบุคคลล้มละลาย โดยมีการประนอมหนี้กับลูกหนี้โดยศาลมีคำสั่ง
|
ไม่สามารถใช้สิทธิการตัดหนี้สูญมาเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ โดยต้อง
|
เห็นชอบด้วยกับการประนอมหนี้นั้น หรือลูกหนี้ถูกศาลพิพากษา
|
บวกกลับหนี้สูญในกำไรทางบัญชีก่อนคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
|
ให้เป็นบุคคลล้มละลายและได้มีการแบ่งทรัพย์สินของลูกหนี้ครั้งแรก
|
ดังนี้
|
หรือศาลได้มีคำสั่งปิดคดีแล้ว
|
กำไรทางบัญชี 5,000,000 บาท
|
การ ดำเนินการตาม ( 2) หรื อ (3) ที่ไ ด้กระทำใน
|
(บวก) ตัดจำหน่ายหนี้สูญ 1,000,000 บาท
|
ต่างประเทศหรือการดำเนินการอื่นในลักษณะทำนองเดียวกันที่ได้
|
กำไรทางภาษี 6,000,000 บาท
|
กระทำในต่างประเทศ ต้องมีเอกสารหลักฐานแห่งการดำเนินการที่
|
ผู้มีอำนาจตามกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ออกให้ และหลักฐาน
|
ดังกล่าว ต้องได้รับการรับรองคำแปลจากภาษาต่างประเทศเป็น
|
ภาษาไทย ตามระเบียบของกระทรวงการต่างประเทศว่าด้วยการ
|
รับรองเอกสาร
|
ข้อ 2.2 ในกรณีหนี้ของลูกหนี้แต่ละรายมีจำนวนไม่เกิน
|
2,000,000 บ า ท แ ล ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ต า ม ข้ อ 1. ต้ อ ง ดำ เ นิ น ก า ร
|
ดังต่อไปนี้
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
(1) ได้ดำเนินการตามข้อ 2.1 (1) แล้ว
|
|
(2) ได้ดำเนินการฟ้องลูกหนี้ในคดีแพ่งและศาลได้มีคำสั่ง
|
รับคำฟ้องนั้นแล้วหรือได้ยื่นคำขอเฉลี่ยหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้
|
รายอื่นฟ้องในคดีแพ่งและศาลได้มีคำสั่งรับคำขอนั้นแล้ว
|
(3) ได้ดำเนินการฟ้องลูกหนี้ในคดีล้มละลายและศาล
|
ได้มีคำสั่งรับคำฟ้องนั้นแล้วหรือในคดีที่ผู้ชำระบัญชีร้องขอให้
|
ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายและศาลได้มีคำสั่ง
|
รับคำฟ้องนั้นแล้วหรือได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้
|
รายอื่นฟ้องในคดีล้มละลาย และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือศาล
|
แล้วแต่กรณี ได้มีคำสั่งรับคำขอรับชำระหนี้นั้นแล้ว
|
ในกรณีตาม (2) หรือ (3) กรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ
|
ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้เป็นเจ้าหนี้ต้องมีคำสั่งอนุมัติให้
|
จำหน่ายหนี้นั้นเป็นหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ภายใน 30 วันนับแต่
|
วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีนั้น
|
ให้นำข้อความในข้อ 2. วรรคสอง มาใช้บังคับแก่การ
|
ดำเนินการตาม (2) หรือ (3) หรือการดำเนินการอื่นในลักษณะ
|
ท านองเดียวกันที่ได้กระทำในต่างประเทศ ด้วยโดยอนุโลม
|
ข้อ 2.3 ในกรณีหนี้ของลูกหนี้แต่ละรายมีจำนวนไม่เกิน
|
200,000 บาท และมีลักษณะตามข้อ 1. การจำหน่ายหนี้สูญจาก
|
บัญชีลูกหนี้ ให้กระทำได้โดยไม่ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์ใน
|
ข้อ 2.1 หรือข้อ 2.2 ถ้าปรากฏว่าได้มีหลักฐานการติดตามทวงถาม
|
ให้ชำระหนี้ตามสมควรแก่กรณีแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้และหาก
|
จะฟ้องลูกหนี้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่คุ้มกับหนี้ที่จะได้รับชำระ
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
ข้อ 3. หนี้ของลูกหนี้รายใดที่ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
|
|
และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้ครบถ้วนแล้วในรอบระยะเวลา
|
บัญชีใด ให้จำหน่ายเป็นหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ และถือเป็นรายจ่าย
|
ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น เว้นแต่กรณีตามข้อ 2.2 (2) และ (3)
|
ให้ถือเป็นรายจ่าย ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ศาลได้มีคำสั่งรับคำฟ้อง
|
คำขอเฉลี่ยหนี้หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือศาลแล้วแต่กรณี
|
ได้มีคำสั่งรับคำขอรับชำระหนี้
|
4. หนี้สูญได้รับคืน
|
4. หนี้สูญได้รับคืน
|
4. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีหนี้สูญได้รับคืน
|
หากลูกหนี้ที่กิจการตัดจำหน่ายไปแล้วกลับมาชำระหนี้ให้แก่
|
ประมวลรัษฎากรตามมาตรา 65 ทวิ (9) วรรคหนึ่ง หนี้สูญ
|
4.1 การบันทึกบัญชีหนี้สูญได้รับคืนในกรณีตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
กิจการ ให้กิจการโอนกลับบัญชีลูกหนี้และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ถ้ามี) ที่เกี่ยวข้องด้วยจำนวนเงินที่ได้รับกลับคืน พร้อมบันทึกรายการ
|
ได้รับคืน ถ้าได้รับชำระหนี้ในรอบระยะเวลาบัญชีใดให้นำมาคำนวณ เป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น
|
ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ห ล ั ก เ ก ณ ฑ์ ที่กำหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534)
|
รับชำระหนี้จากลูกหนี้
|
4.1.1 กรณีตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
จากตัวอย่างที่ 3.1.1 ลูกหนี้ที่ได้ตัดจำหน่ายเป็นหนี้สูญไปแล้ว
|
นำเงินมาชำระ
|
เดบิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
เดบิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
เครดิต หนี้สูญได้รับคืน (รายได้อื่น) 1,000,000
|
เดบิต เงินฝากธนาคาร 1,000,000
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
โดยหนี้สูญได้รับคืนนำไปแสดงในงบกำไรขาดทุนในหัวข้อรายได้อื่น
|
จะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชีกับภาษีอากร
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
ประมวลรัษฎากรตามมาตรา 65 ทวิ (9) วรรคสอง หนี้สูญรายใดได้
|
4.1.2 กรณีไม่ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
จากตัวอย่างที่ 3.1.2 ลูกหนี้ที่ได้ตัดจำหน่ายเป็นหนี้สูญไปแล้ว
|
นำเงินมาชำระ
|
เดบิต เงินฝากธนาคาร 1,000,000
|
เครดิต หนี้สูญได้รับคืน (รายได้อื่น) 1,000,000
|
โดยหนี้สูญได้รับคืนนำไปแสดงในงบกำไรขาดทุนในหัวข้อ
|
รายได้อื่น จะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชีกับภาษีอากร
|
4.2 การบันทึกบัญชีหนี้สูญได้รับคืนในกรณีตัดจำหน่ายหนี้สูญ
|
นำมาคำนวณเป็นรายได้แล้วหากได้รับชำระในภายหลังก็มิให้นำมา
|
ไ ม่ ดำ เ นิ น ก า ร ต า ม ห ล ั ก เ ก ณ ฑ์ ที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186
|
คำนวณเป็นรายได้อีก
|
(พ.ศ.2534)
|
4.2.1 กรณีตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
จากตัวอย่างที่ 3.2.1 ลูกหนี้ที่ได้ตัดจำหน่ายเป็นหนี้สูญไปแล้ว
|
นำเงินมาชำระ
|
เดบิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000,000
|
เดบิต เงินฝากธนาคาร 1,000,000
|
เครดิต ลูกหนี้การค้า 1,000,000
|
โดยหนี้สูญได้รับคืนดังกล่าว จะไม่มีผลต่างระหว่างบัญชีกับภาษี
|
อากร
|
NPAEs
|
TAX
|
ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ*
|
|
|
4.2.2 กรณีไม่ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
|
จากตัวอย่างที่ 3.2.2 ลูกหนี้ที่ได้ตัดจำหน่ายเป็นหนี้สูญไปแล้ว
|
นำเงินมาชำระ
|
เดบิต เงินฝากธนาคาร 1,000,000
|
เครดิต หนี้สูญได้รับคืน (รายได้อื่น) 1,000,000
|
โดยหนี้สูญได้รับคืนนำไปแสดงในงบกำไรขาดทุนในหัวข้อรายได้อื่น
|
พร้อมบันทึกรายการรับชำระหนี้จากลูกหนี้ แต่เนื่องจากการตัดหนี้สูญ
|
กรณีนี้ไม่ถือเป็นรายจ่ายในทางภาษีเสมือนหนึ่งทางภาษียังมีลูกหนี้
|
ที่บริษัทรอรับชำระอยู่ ต่อมาภายหลังได้รับชำระหนี้จากลูกหนี้จึงไม่ต้อง
|
นำหนี้ที่ได้รับชำระดังกล่าวมารวมคำนวณเป็นรายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้
|
นิติบุคคลแต่อย่างใด
|
โดยหักออกจากกำไรทางบัญชีก่อนคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลดังนี้
|
กำไรทางบัญชี 3,000,000 บาท
|
(หัก) หนี้สูญได้รับคืน 1,000,000 บาท
|
กำไรทางภาษี 2,000,000 บาท
|
ข้อมูล ณ กรกฎาคม 2566 จรัส อินทร์คง
|